ไฟล์ ดาวน์โหลด |
530542480.pdf |
|||||||||
|
ชื่อผู้วิจัย นพเก้า ณ พัทลุง
|
|||||||||
บทคัดย่อ ภาษาไทย | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) ความต้องการของผู้เรียน ในการศึกษาต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต และ 2) ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่จะศึกษาต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ จำนวน 385 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย ผู้เชี่ยวชาญที่ใช้สอบถามความคิดเห็นต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต จำนวน 10 คน ผู้เชี่ยวชาญที่ใช้สนทนากลุ่มเพื่อสอบถามความคิดเห็นต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามความต้องการในการศึกษาต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต 2) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต และ 3) แบบบันทึกการสนทนากลุ่มของผู้เชี่ยวชาญต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการศึกษาต่อหลังจาก 3 ปี จำนวน 250 คน คิดเป็นร้อยละ 64.94 แบบวิทยานิพนธ์อย่างเดียวจำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 25.19 ภาคพิเศษนอกเวลาราชการ (เสาร์ – อาทิตย์) จำนวน 180 คน คิดเป็นร้อยละ 46.75 การฝึกปฏิบัติจริงในต่างประเทศ จำนวน 219 คน คิดเป็นร้อยละ 56.88 ด้านการวิจัยภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ จำนวน 225 คน คิดเป็นร้อยละ 58.44 นำไปใช้พัฒนางานมากที่สุด จำนวน 133 คน คิดเป็นร้อยละ 34.55 2) ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ มีความคิดเห็นว่าเนื้อหาทุกด้านมีความเหมาะสม ซึ่งประกอบด้วย 2.1) หลักสูตรภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 2.2) การเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 2.3) สื่อการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 2.4) การวัดและประเมินผลการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 2.5) วรรณคดีและวรรณกรรมไทยในการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 2.6) วิจัยทางการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 2.7) ไวยากรณ์ไทยเพื่อการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ และ2.8) ภาษาศาสตร์เพื่อการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ | |||||||||
คำสำคัญ | ข้อมูลพื้นฐาน; การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต; การสอนภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ | |||||||||
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ | This research aimed to study basic information to develop doctoral program in teaching Thai as a foreign language of Thaksin university as follows 1) students’ need to study doctoral degree and 2) experts’opinion on doctoral program. The sample were 385 people who want to study doctoral program in teaching Thai as a foreign language. 10 experts to study opinion on doctoral program in teaching Thai as a foreign language and 10 experts for focus group to express opinion on doctoral program in teaching Thai as a foreign language. The research instruments were : 1) questionnaire to study doctoral program in teaching Thai as a foreign language, 2) experts questionnaire on doctoral program in teaching Thai as a foreign language and 3) experts focus group form on doctoral program in teaching Thai as a foreign language. Frequency, percentage and content analysis were used in data analysis The results were found that : 1) People who want to study doctoral degree, 250 people (64.94%) wanted to study after 3 year, 97 people (25.19%) wanted to study by research program, 180 people (46.755%) wanted to study after hours (Saturday – Sunday), 219 people (56.88%) wanted to practice oversea, 225 people (58.44%) interested in research in teaching Thai as a foreign language, 133 people (34.55%) wanted to apply developing their job 2) expert opinion on doctoral program in teaching Thai as a foreign language. were all aspect appropriateness including 2.1) curriculum in teaching Thai as a foreign language. 2.2) instruction in teaching Thai as a foreign language 2.3) educational media in teaching Thai as a foreign language 2.4) measurement and evaluation in teaching Thai as a foreign language 2.5) literature and Thai literature in teaching Thai as a foreign language 2.6) research in teaching Thai as a foreign language 2.7) Thai grammar in teaching Thai as a foreign language and 2.8) linguistic in teaching Thai as a foreign language. This research aimed to study basic information to develop doctoral program in teaching Thai as a foreign language of Thaksin university as follows 1) students’ need to study doctoral degree and 2) experts’opinion on doctoral program. The sample were 385 people who want to study doctoral program in teaching Thai as a foreign language. 10 experts to study opinion on doctoral program in teaching Thai as a foreign language and 10 experts for focus group to express opinion on doctoral program in teaching Thai as a foreign language. The research instruments were : 1) questionnaire to study doctoral program in teaching Thai as a foreign language, 2) experts questionnaire on doctoral program in teaching Thai as a foreign language and 3) experts focus group form on doctoral program in teaching Thai as a foreign language. Frequency, percentage and content analysis were used in data analysis The results were found that : 1) People who want to study doctoral degree, 250 people (64.94%) wanted to study after 3 year, 97 people (25.19%) wanted to study by research program, 180 people (46.755%) wanted to study after hours (Saturday – Sunday), 219 people (56.88%) wanted to practice oversea, 225 people (58.44%) interested in research in teaching Thai as a foreign language, 133 people (34.55%) wanted to apply developing their job 2) expert opinion on doctoral program in teaching Thai as a foreign language. were all aspect appropriateness including 2.1) curriculum in teaching Thai as a foreign language. 2.2) instruction in teaching Thai as a foreign language 2.3) educational media in teaching Thai as a foreign language 2.4) measurement and evaluation in teaching Thai as a foreign language 2.5) literature and Thai literature in teaching Thai as a foreign language 2.6) research in teaching Thai as a foreign language 2.7) Thai grammar in teaching Thai as a foreign language and 2.8) linguistic in teaching Thai as a foreign language.
|
|||||||||
Keyword | Basic Information; Developing Doctoral Program; Teaching Thai as a Foreign Language | |||||||||
นพเก้า ณ พัทลุง
2 บทความชื่อ - สกุล | วารสาร | ไฟล์ |
หน้า |
|
---|---|---|---|---|
|
นพเก้า ณ พัทลุง CAS1770 |
การศึกษาข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนาหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ มหาวิทยาลัยทักษิณ | ||
|
นพเก้า ณ พัทลุง CAS930 |
รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ในการสอนอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาไทยสำหรับผู้เรียนชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย |