วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มิถุนายน ปี พ.ศ. 2560


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1505124914-pp14.pdf

   หน้าที่ 122

อมรรัตน์ กวยแก้ว

CAS444

ชื่อผู้วิจัย   อมรรัตน์ กวยแก้ว
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
สวิตา อ่อนละออ และอ้อมทิพย์ ร่มพฤกษ์
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การจัดการความเครียดของนักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก ชั้นปีที่ 1-4 คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการจัดการความเครียดของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-4สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย จำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพ และเกรดเฉลี่ย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-4 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก จำนวน 128คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ t-test และ F-test (ANOVA)
ผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดการความเครียดของนักศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก
เรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรกดังนี้ ด้านการกำหนดเป้าหมายและให้ข้อมูลย้อนกลับ ด้านการจัดกิจกรรมนันทนาการต่างๆ และด้านการให้นักศึกษามีส่วนร่วมตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการจัดการความเครียดของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1-4 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซียจำแนกตาม เพศ อายุ และสถานภาพ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันโดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านเกรดเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ดังนั้นนักศึกษาควรให้ความสำคัญกับการจัดการความเครียด เพราะจะสามารถช่วยให้นักศึกษาสามารถแก้ไขปัญหา เพื่อลดความเครียดที่เกิดขึ้น โดยการใช้ประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ เพื่อปรับให้ร่างกายและจิตใจเข้าสู่ภาวะปกติเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย ซึ่งจะนำไปสู่การจัดการความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ Abstract
This research is a survey research. The purposes were to study and compare stress management of the 1st -4th year undergraduate students in Retail Business Management, Faculty of Business Administration, College of Asian Scholars. They were classified by sexes, age, status and GPA. The number of the population was 128 students. Data collected were questionnaires developed by the researchers using Rating Scale. Statistics used in data analysis were t-test and F-test (ANOVA).
According to the research, it was found that the stress management of the overall students and individual students were at a high level. 1) The sequences of 3 managements were targeting and providing feedback, the recreational activities and student involvement respectively. 2) The comparative study of student stress management was classified by sex, age and status. The overall and the individual aspects were not significantly different. The statistical significance was at the 0.05. Except for the average GPA, the difference was statistically significant at the level of 0.05.
Thus the students should give importance to the stress management because they can help the students to solve problems. The ways to reduce the stress were using the experience in daily life, learning to adjust to the body and mind to be normal and the giving chances to the students in expressing their ideas. There should provide activities promoting exercises. These will lead to effective stress management.
Abstract This research is a survey research. The purposes were to study and compare stress management of the 1st -4th year undergraduate students in Retail Business Management, Faculty of Business Administration, College of Asian Scholars. They were classified by sexes, age, status and GPA. The number of the population was 128 students. Data collected were questionnaires developed by the researchers using Rating Scale. Statistics used in data analysis were t-test and F-test (ANOVA). According to the research, it was found that the stress management of the overall students and individual students were at a high level. 1) The sequences of 3 managements were targeting and providing feedback, the recreational activities and student involvement respectively. 2) The comparative study of student stress management was classified by sex, age and status. The overall and the individual aspects were not significantly different. The statistical significance was at the 0.05. Except for the average GPA, the difference was statistically significant at the level of 0.05. Thus the students should give importance to the stress management because they can help the students to solve problems. The ways to reduce the stress were using the experience in daily life, learning to adjust to the body and mind to be normal and the giving chances to the students in expressing their ideas. There should provide activities promoting exercises. These will lead to effective stress management.
Keyword Stress Management,Retail Business Management