วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 7 ฉบับที่ เดือน ตุลาคม - ปี พ.ศ. 2560


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1518581321-ED072(514).pdf

   หน้าที่ 127

รองศาสตราจารย์ ดร.สำเร็จ ยุรชัย

CAS581

ชื่อผู้วิจัย   รองศาสตราจารย์ ดร.สำเร็จ ยุรชัย
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
ดร.ศิริบุญเอื้อ เหล่าชัย2 ดร.สุพัฒน์ เหล่าชัย3 ดร.สุนทร ฉมารัตน์4
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม สำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบส่วนร่วมสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 ใช้วิธีการดำเนินการวิจัยแบบวิจัยและพัฒนา แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ร่างแนวทางการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม ขั้นตอนที่ 2พัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบความเหมาะสมด้วยการทดลองใช้ ขั้นตอนที่ 4 สรุปและสะท้อนผลแนวทางการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ครูที่ปฏิบัติราชการในสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบสำรวจสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการด้านการนิเทศภายใน (2) กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูโรงเรียนบ้านเหล่านางาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินเจตคติ และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สถิติพื้นฐานหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า
การพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วมสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 มี 3 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 หลักการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม มี 4 หลักการ คือ (1) หลักการเสริมพลังอำนาจ (2) หลักการพัฒนาการบุคลากร (3) หลักการมี
ส่วนร่วม (4) หลักการพัฒนาคุณภาพของงาน องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการนิเทศภายใน มีดังนี้ (1) การวางแผน
การนิเทศ (2) การให้ความรู้ความเข้าใจในการทำงาน (3) การลงมือปฏิบัติงาน (4) การสร้างเสริมกำลังใจ
และ(5) การประเมินผลการปฏิบัติงาน องค์ประกอบที่ 3 ประสิทธิภาพของการนิเทศภายใน ประกอบด้วย (1) ผลการพัฒนาบรรลุเป้าหมายทั้งด้านความรู้ ความสามารถและเจตคติที่ดีต่อรูปแบบการทำวิจัยในชั้นเรียน (2) ความพึงพอใจของครูต่อแนวทางการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ Abstract
The research aimed to develop a participatory internal supervision approach for the development of participatory supervision in small-sized schools under the Khon Kaen Office of Primary Educational Service Area 1. Using the method of research and development methodology, divided into 4 phases: phase 1: draft internal guidelines on participatory internal supervision approach, phase 2: develop a participatory internal supervision approach, phase 3: check for suitability by implementing, and phase 4: conclusions and reflections on participatory internal supervision approaches. The research sample consisted of (1) teachers who work in small-sized schools under the Khon Kaen Office of Primary Educational Service Area 1. The tools used in research was questionnaire to find current situation and problems of Internal supervision (2) the purposive group were teachers at Baan Sa Ngam school at this area, and the tools used by data collection to attitudinal evaluation form. Statistics data analysis were mean, percentage, and standard deviation.
The research results:
The guidelines of development for participatory internal supervision approach for small-sized schools under the Khon Kaen Office of Primary Educational Service Area 1, There were 3 components as follows: The component 1: internal supervision and there were 4 principles: (1) empowerment (2) human resources development (3) participation (4) quality development. For the component 2: the internal supervision process was as follows: (1) planning for supervision; (2) give knowledge to understanding the work; (3) operation (4) encouragement and (5) performance appraisal. The 3 component was the efficiency of internal supervision as follows: (1) development results to achieve for both knowledge, ability and attitudes towards classroom research models. (2) the satisfaction of teachers with the participatory internal supervision approach.
Abstract The research aimed to develop a participatory internal supervision approach for the development of participatory supervision in small-sized schools under the Khon Kaen Office of Primary Educational Service Area 1. Using the method of research and development methodology, divided into 4 phases: phase 1: draft internal guidelines on participatory internal supervision approach, phase 2: develop a participatory internal supervision approach, phase 3: check for suitability by implementing, and phase 4: conclusions and reflections on participatory internal supervision approaches. The research sample consisted of (1) teachers who work in small-sized schools under the Khon Kaen Office of Primary Educational Service Area 1. The tools used in research was questionnaire to find current situation and problems of Internal supervision (2) the purposive group were teachers at Baan Sa Ngam school at this area, and the tools used by data collection to attitudinal evaluation form. Statistics data analysis were mean, percentage, and standard deviation. The research results: The guidelines of development for participatory internal supervision approach for small-sized schools under the Khon Kaen Office of Primary Educational Service Area 1, There were 3 components as follows: The component 1: internal supervision and there were 4 principles: (1) empowerment (2) human resources development (3) participation (4) quality development. For the component 2: the internal supervision process was as follows: (1) planning for supervision; (2) give knowledge to understanding the work; (3) operation (4) encouragement and (5) performance appraisal. The 3 component was the efficiency of internal supervision as follows: (1) development results to achieve for both knowledge, ability and attitudes towards classroom research models. (2) the satisfaction of teachers with the participatory internal supervision approach.
Keyword Participatory on Internal Supervision, Small-Sized Schools