วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือน เมษายน - มิถุนายน ปี พ.ศ. 2564


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1624788295-14-(124-130).pdf

   หน้าที่ 124

ปาจรีย์ หงษ์แก้ว

CAS1103

ชื่อผู้วิจัย   ปาจรีย์ หงษ์แก้ว
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
วาโร เพ็งสวัสดิ์, เอกลักษณ์ เพียสา
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและตรวจสอบความเหมาะสมและประโยชน์ของรูปแบบการนิเทศภายในที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 355 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage) จำแนกเป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 34 คน และครูผู้สอน จำนวน 321 คน เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงตรง 1.00 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.43 ถึง 0.98 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบการนิเทศภายในที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนิเทศภายใน ขอบข่ายของการนิเทศภายใน กระบวนการนิเทศภายใน และประสิทธิผลการนิเทศภายใน
2. รูปแบบการนิเทศภายในที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านมีความเหมาะสมและมีประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ประสิทธิผลการนิเทศภายใน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนิเทศภายใน กระบวนการนิเทศภายใน และขอบข่ายของการนิเทศภายใน ตามลำดับ
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The objectives of this research were to develop and investigate the feasibility and usefulness of an effective internal supervision model of school under the secondary Educational Service Area office 22 by studying 355 populations from the multi stage sampling, were 34 school directors and 321 teachers. The instrument using for data collection included rating scale questionnaire with the validity 1.00, the discrimination is between 0.43 – 0.98 and the reliability is 0.99.The data were analyzed by using frequency, percentage mean and standard deviation.
The research results were as follows:
1. The Effective Internal Supervision of School under the Secondary Educational Service Area Office 22 included 4 factors that have effected to the internal Supervision, scope, and the effectiveness of Internal Supervision process.
2. The Effective Internal Supervision of School under the Secondary Educational Service Area Office 22 is appropriate and the benefits to the opinions of school administrators and teachers in overall and in each level were at the highest level. When considering in each aspect sort by average from high to low found that effectiveness of internal supervision, factors that affect internal supervision, internal supervision process and the scope of internal supervision respectively.
The objectives of this research were to develop and investigate the feasibility and usefulness of an effective internal supervision model of school under the secondary Educational Service Area office 22 by studying 355 populations from the multi stage sampling, were 34 school directors and 321 teachers. The instrument using for data collection included rating scale questionnaire with the validity 1.00, the discrimination is between 0.43 – 0.98 and the reliability is 0.99.The data were analyzed by using frequency, percentage mean and standard deviation. The research results were as follows: 1. The Effective Internal Supervision of School under the Secondary Educational Service Area Office 22 included 4 factors that have effected to the internal Supervision, scope, and the effectiveness of Internal Supervision process. 2. The Effective Internal Supervision of School under the Secondary Educational Service Area Office 22 is appropriate and the benefits to the opinions of school administrators and teachers in overall and in each level were at the highest level. When considering in each aspect sort by average from high to low found that effectiveness of internal supervision, factors that affect internal supervision, internal supervision process and the scope of internal supervision respectively.
Keyword Development of Model, Internal supervision, Effective