วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 เดือน ตุลาคม - ธันวาคม ปี พ.ศ. 2565


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1281970680.pdf

   หน้าที่ 156

ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล

CAS1318

ชื่อผู้วิจัย   ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์2, วัชรินทร์ ลอยลม3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) ผลของการนำหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีไปใช้ในโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ) EFFECT OF USING CURRICULUM ON A PREVENTION COURSE OF LIVER FLUKE AND BILE DUCT CANCER IN SCHOOL FOR UPPER SECONDARY STUDENT LEVEL IN THE NORTHEAST REGION, THAILAND
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการนำหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีไปใช้ในโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ด้านความรู้ เจตคติ ทักษะกระบวนการ และพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 51 โรงเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 17 โรงเรียน และกลุ่มควบคุม 2 กลุ่ม กลุ่มละ 17 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และ แบบวัดประสิทธิผลของหลักสูตรฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยด้านภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ประกอบด้วย ก่อนและหลังทดลองใช้หลักสูตรฯ โดยใช้สถิติ paired t-test และ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ก่อนและหลังใช้หลักสูตร ระหว่าง 3 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม 2 กลุ่ม โดยใช้ สถิติ ANOVA ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยด้านความรู้ หลังการใช้หลักสูตร
ของทั้ง 3 กลุ่ม พบว่าทั้ง 3 กลุ่มแตกต่างกัน (p-value=.000) คะแนนเฉลี่ยด้านคุณลักษณะ หลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้หลักสูตร (p-value =.000) คะแนนเฉลี่ยด้านทักษะกระบวนการระหว่าง 3 กลุ่ม หลังการใช้หลักสูตรแตกต่างกัน และ นักเรียนทุกกลุ่มมีภูมิคุ้มกันด้านพฤติกรรมสุขภาพดี (H1) หลังการใช้หลักสูตรสูงกว่าก่อนใช้หลักสูตร และกลุ่มทดลองมีการปฏิบัติการมีสุขภาพดี (H2) เป็นสัดส่วนมากกว่ากลุ่มควบคุม ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
คำสำคัญ หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี, ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย, การนำหลักสูตรไปใช้
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The purpose of this experimental research was to study effect of using curriculum on a prevention course of liver fluke and bile duct cancer in school for upper secondary student level in the northeast region, Thailand in terms of knowledge, attributes, process skills and health behaviors. The sample group included upper secondary school in northeastern region consisted of 51 schools, 17 schools divided into experimental group and 2 control groups, in 17 schools each group. Research tools are a prevention Course of Liver Fluke and Bile Duct Cancer a high school in school for upper secondary student Level in the northeast region, Thailand and the curriculum effectiveness measure form. The data were analyzed by compare the average scores on immunity for liver fluke and bile duct cancer, consisting of: before and after using paired t-test statistics and comparing the average scores before and after of using the prevention course for liver fluke and bile duct cancer, between 3 groups was the experimental group and 2 control groups were analyzed by ANOVA statistics. The results showed that; average knowledge score after using the curriculum of all 3 groups, it was found that all 3 groups differed (p-value=.000), average rating for attributes after the course using was higher than before the course (p-value =.000), the mean score on process skills between the 3 groups after the course was different, and the students in all groups had healthy behavioral immunity (H1) was higher before using a course, and the experimental group had a greater proportion of healthy (H2) than the control group at the statistical significance level of 0.05.
The purpose of this experimental research was to study effect of using curriculum on a prevention course of liver fluke and bile duct cancer in school for upper secondary student level in the northeast region, Thailand in terms of knowledge, attributes, process skills and health behaviors. The sample group included upper secondary school in northeastern region consisted of 51 schools, 17 schools divided into experimental group and 2 control groups, in 17 schools each group. Research tools are a prevention Course of Liver Fluke and Bile Duct Cancer a high school in school for upper secondary student Level in the northeast region, Thailand and the curriculum effectiveness measure form. The data were analyzed by compare the average scores on immunity for liver fluke and bile duct cancer, consisting of: before and after using paired t-test statistics and comparing the average scores before and after of using the prevention course for liver fluke and bile duct cancer, between 3 groups was the experimental group and 2 control groups were analyzed by ANOVA statistics. The results showed that; average knowledge score after using the curriculum of all 3 groups, it was found that all 3 groups differed (p-value=.000), average rating for attributes after the course using was higher than before the course (p-value =.000), the mean score on process skills between the 3 groups after the course was different, and the students in all groups had healthy behavioral immunity (H1) was higher before using a course, and the experimental group had a greater proportion of healthy (H2) than the control group at the statistical significance level of 0.05.
Keyword Prevention Course of Liver Fluke and Bile Duct Cancer, Upper Secondary Student Level, Using Curriculum


วารสารอื่นๆ

ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล

19 บทความ
ชื่อ - สกุล วารสาร
ไฟล์
หน้า
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS546
การประเมินความก้าวหน้าการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
104
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS616
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
0
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS702
การทำนายภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
287
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS724
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฝึกปฏิบัติงานบนคลินิก ของนักศึกษาพยาบาล
76
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS856
ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมผลการเรียนรู้ รายวิชาจริยศาสตร์และกฎหมายวิชาชีพ สำหรับนักศึกษาพยาบาล
125
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS867
การสร้างและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
210
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS616
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS928
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
1
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS988
การรับรู้กฎหมายวิชาชีพ จริยธรรม และจรรยาบรรณของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
147
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1023
การประเมินผลการเรียนรู้ในสภาพจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
51
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1043
ภาวะสุขภาพของคนพิการในโครงการจัดการความรู้เครือข่ายคนพิการ และศูนย์เรียนรู้คนพิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
26
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1092
การพยาบาลผู้ป่วยหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว : กรณีศึกษาผนังกั้นหัวใจห้องล่างรั่ว
21
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1180
ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกออนไลน์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ในรายวิชาการบริหารการพยาบาล สำหรับนักศึกษาพยาบาล
112
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1248
ผลการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขอัจฉริยะ โดยการใช้โปรแกรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุออนไลน์ ชุมชนหนองใหญ่ เทศบาลนครขอนแก่น
123
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1259
การประเมินโครงการจัดการความรู้เครือข่ายคนพิการ ของศูนย์เรียนรู้คนพิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน: การวิจัยเชิงคุณภาพ
18
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1318
ผลของการนำหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีไปใช้ในโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
156
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1511
ประสิทธิผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติงาน 4Rs เพื่อส่งเสริมความมั่นใจ ในการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการบริหารการพยาบาล
117
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1361
รูปแบบภาวะผู้นำแบบร่วมสมัยของผู้นำชุมชนที่มีผลต่อการลดขยะต้นทางโดยใช้แนวคิด 3Rs กรณีศึกษาชุมชนบ้านหัวถนน ตำบลพระลับ จังหวัดขอนแก่น
150
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1597
ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ 7-7 เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์ และการแก้ไขปัญหาทางการพยาบาลในคลินิก สำหรับนักศึกษาพยาบาล
15