วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม ปี พ.ศ. 2562


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1577950543-21.(144-150).pdf

   หน้าที่ 144

วาโร เพ็งสวัสดิ์

CAS840

ชื่อผู้วิจัย   วาโร เพ็งสวัสดิ์
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
นวพร วรรณทอง2
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันภาวะผู้นำทางวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มจังหวัดสนุก
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันภาวะผู้นำทางวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มจังหวัดสนุก การดำเนินการวิจัยโดยการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 500 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มจังหวัดสนุกประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาตนเองและทีมงาน และด้านการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโมเดลภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (Chi-Square) มีค่าเท่ากับ 29.47 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 31 ค่านัยสำคัญทางสถิติ (p-value) เท่ากับ 0.54459 ซึ่งไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์พบว่าค่าไค–สแควร์สัมพัทธ์ (ค่าไค–สแควร์/df) เท่ากับ 0.950 ซึ่งมีค่าต่ำกว่า 2 นอกจากนี้ ยังพบว่าค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) มีค่าเท่ากับ0.99 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.98 และค่าความคลาดเคลื่อนในการการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.000 เป็นไปตามหลักการพิจารณาความกลมกลืน แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลักที่ว่าโมเดลการวิจัยสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The objectives of this research were to analyze the instructional leadership confirmatory factors of the administrators in SANUK province cluster. The study was conducted by reviewing the related documents and research. The data were collected from 500 school administrators, who were selected from multi stage sampling. The collected data were analyzed for confirmatory factors by computer software.
The research findings revealed that the instructional leadership of administrators in SANUK province cluster comprised of 4 factors, included administration, curriculum and learning management, self and team development, and learning environmental development. The results of confirmatory factor analysis of instructional leadership model revealed that the model was highly in harmony with the empirical data by considering the Chi-Square valued at 29.47, degree of freedom was at 31, p-value was at 0.54459 with no statistical significant. Considering according to the criteria, it was found that X2 / df value was 0.950, which was lower than 2. Besides, the GFI was 0.99, AGFI was 0.98, and RMSEA was 0.000. The results demonstrated the acceptance of the hypothesis that the model was in harmony with the empirical evidences.
The objectives of this research were to analyze the instructional leadership confirmatory factors of the administrators in SANUK province cluster. The study was conducted by reviewing the related documents and research. The data were collected from 500 school administrators, who were selected from multi stage sampling. The collected data were analyzed for confirmatory factors by computer software. The research findings revealed that the instructional leadership of administrators in SANUK province cluster comprised of 4 factors, included administration, curriculum and learning management, self and team development, and learning environmental development. The results of confirmatory factor analysis of instructional leadership model revealed that the model was highly in harmony with the empirical data by considering the Chi-Square valued at 29.47, degree of freedom was at 31, p-value was at 0.54459 with no statistical significant. Considering according to the criteria, it was found that X2 / df value was 0.950, which was lower than 2. Besides, the GFI was 0.99, AGFI was 0.98, and RMSEA was 0.000. The results demonstrated the acceptance of the hypothesis that the model was in harmony with the empirical evidences.
Keyword instructional leadership, instructional leadership development, school administrators