วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม - กันยายน ปี พ.ศ. 2563

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1606892516-10-(74-79)edit.pdf

  

ปุนยาวันร์ คำทองจันทร์

CAS978

ชื่อผู้วิจัย   ปุนยาวันร์ คำทองจันทร์
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
รัชนิวรรณ อนุตระกูลชัย2 สุรชัย อนุตระกูลชัย3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ด้วยการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้องเรียน 1/2 โรงเรียนโนนสังวิทยาคาร อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 36 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ใช้รูปแบบการวิจัยการทดลองขั้นต้น แบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังการทดลอง เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา จำนวน 8 แผน 2) แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ และ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า
1. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา มีความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
2. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The objectives of this research were to: 1) compare between before and after learning of grade-7 students’ creative thinking ability through STEM education learning and 2) compare between before and after learning of the students’ learning achievement through STEM education learning. The sample used in the study consisted of 36 grade-7 students from Classroom No. 1/2 in Noen Sang Wittayakarn School, Noen Sang District, Nong Bualampoo Province, during the second semester of the 2018 academic year. The sample group was selected through a random sampling using classrooms as sampling units. The study followed the One-Group Pretest-Posttest Design procedure for experiment. The research tools included:
1) 8 lesson plans on STEM education learning, 2) a creative thinking ability test and 3) a learning achievement test. The collected data were analyzed by means of computing arithmetic mean, standard deviation and a t-test.
1. The students’ creative thinking ability at the close of instruction was found to be significantly higher than their pretest score at the .01 level of significance; and
2. The students’ learning achievement at the close of instruction was found to be significantly higher than their pretest score at the .01 level of significance.
The objectives of this research were to: 1) compare between before and after learning of grade-7 students’ creative thinking ability through STEM education learning and 2) compare between before and after learning of the students’ learning achievement through STEM education learning. The sample used in the study consisted of 36 grade-7 students from Classroom No. 1/2 in Noen Sang Wittayakarn School, Noen Sang District, Nong Bualampoo Province, during the second semester of the 2018 academic year. The sample group was selected through a random sampling using classrooms as sampling units. The study followed the One-Group Pretest-Posttest Design procedure for experiment. The research tools included: 1) 8 lesson plans on STEM education learning, 2) a creative thinking ability test and 3) a learning achievement test. The collected data were analyzed by means of computing arithmetic mean, standard deviation and a t-test. 1. The students’ creative thinking ability at the close of instruction was found to be significantly higher than their pretest score at the .01 level of significance; and 2. The students’ learning achievement at the close of instruction was found to be significantly higher than their pretest score at the .01 level of significance.
Keyword Creative thinking, STEM education learning, Learning achievement