วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มิถุนายน ปี พ.ศ. 2560

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1505123642-pp7.pdf

  
User Image

ณัฐฌา ขำศิริ

CAS445

ชื่อผู้วิจัย   ณัฐฌา ขำศิริ
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
เพ็ญณี แนรอท
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) วิกฤตการศึกษากับกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของมาตรฐานหลักสูตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2) ศึกษาปัญหาของกระบวนการจัดทำหลักสูตรมหาวิทยาลัยขอนแก่น 3) วิเคราะห์ความสอดคล้องของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของกลุ่มสาขาวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยขอนแก่น กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย 50 หลักสูตรแรกที่ตอบแบบสอบถามและส่งกลับมายังผู้วิจัยภายใน 2 สัปดาห์ และกลุ่มเป้าหมายจากหลักสูตรที่ไม่ผ่านการกำกับมาตรฐาน การประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 20 หลักสูตร การเก็บรวบรวมจากกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วยประธานหลักสูตร/คณะกรรมการบริหารหลักสูตร บุคลากรงานบริการการศึกษา/บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านหลักสูตร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสำรวจและแบบวิเคราะห์ความสอดคล้องของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552
ผลการศึกษาพบว่า สภาพทั่วไปมีการจัดทำหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานแต่พบว่ากระบวนการจัดทำรายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2) มีเนื้อหาเป็นจำนวนมากต้องใช้ระยะเวลาในการจัดทำนานทำให้หลักสูตรเสร็จไม่ทันตามกำหนด นอกจากนี้ยังขาดความร่วมมือจากอาจารย์ที่ไม่เห็นด้วยกับการจัดทำหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และในระหว่างการดำเนินการของหลักสูตรมีอาจารย์บางท่านเกษียณอายุราชการ หรือลาศึกษาต่อและไม่ได้มีการแต่งตั้งทดแทน ทำให้มีจำนวนไม่ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน จึงมีผลให้หลักสูตรส่วนหนึ่งไม่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The research to 1) study Khon Kaen University curriculum qualification framework 2) study problems of Khon Kaen University curriculum process 3) analyze Khon Kaen University curriculum consistency based on TQF. Target groups used in the study included the first 50 questionnaires returned back to the researcher within 2 week and 20 curriculums which failed to pass the curriculum quality assessment in the academic year 2015. The data was collected from key informants consisted of curriculum chairmen/curriculum administrative committee, academic service staff/curriculum-related staff. There are two types of research tools: 1) a questionnaire, 2) an analysis form of the consistency of the curriculum according to the national standard for higher education. The research found that the programme specification process is time-consuming so the development of the curriculum was delayed. There is also a lack of cooperation from teachers who do not agree with the curriculum framework. At the some time there are some personnel reach the retirement age, some are on study leave. No substitute has been appointed to replace these staff.
The research to 1) study Khon Kaen University curriculum qualification framework 2) study problems of Khon Kaen University curriculum process 3) analyze Khon Kaen University curriculum consistency based on TQF. Target groups used in the study included the first 50 questionnaires returned back to the researcher within 2 week and 20 curriculums which failed to pass the curriculum quality assessment in the academic year 2015. The data was collected from key informants consisted of curriculum chairmen/curriculum administrative committee, academic service staff/curriculum-related staff. There are two types of research tools: 1) a questionnaire, 2) an analysis form of the consistency of the curriculum according to the national standard for higher education. The research found that the programme specification process is time-consuming so the development of the curriculum was delayed. There is also a lack of cooperation from teachers who do not agree with the curriculum framework. At the some time there are some personnel reach the retirement age, some are on study leave. No substitute has been appointed to replace these staff.
Keyword situations of curriculum development, qualification framework, Thailand, tertiary level