วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม ปี พ.ศ. 2560

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1523081826-PDFsplited(1).pdf

  

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตวงพร อานันทศิริเกียรติ

CAS586

ชื่อผู้วิจัย   ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตวงพร อานันทศิริเกียรติ
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
-
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) กฎหมายป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพของสัตว์ : มุมมองเกี่ยวกับ การบังคับใช้กฎหมาย
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย ข้อความเบื้องต้น
หากจะกล่าวไปแล้ว สัตว์เป็นสิ่งที่มีชีวิตมีจิตใจ มีลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์ เพียงแต่การแสดงออกหรือการสื่อสารอาจจะไม่สามารถรับรู้และเข้าใจได้ทั้งหมด แต่สัตว์ก็เป็นเพื่อนร่วมโลกของมนุษย์ มีความเกี่ยวพันกับมนุษย์เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ป่าที่อยู่ตามธรรมชาติหรือที่มนุษย์นำมาเลี้ยงดูจนกลายเป็นสัตว์ที่อยู่ตามบ้าน นอกจากนี้มนุษย์ยังได้อาศัยแอบอิงเอาประโยชน์จากสัตว์หลายประการ ทั้งการใช้เป็นอาหาร ใช้งาน ใช้เพื่อความบันเทิง ตลอดจนการทดลองต่าง ๆ แต่การปฏิบัติต่อสัตว์ในหลายกรณีก็เป็นการกระทำที่เป็นการทารุณกรรม เป็นไปเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์จนเกินความพอดี ไม่สมเหตุสมผลทั้ง ๆ ที่มนุษย์ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ มีความศิวิไลซ์กว่าสิ่งมีชีวิตอื่น การกระทำทารุณกรรมต่อสัตว์จึงเป็นการแสดงออกถึงความโหดร้ายทางจิตใจและความเสื่อมทางสังคม ต่อมาจึงได้มีการเริ่มตระหนักเกี่ยวกับสิทธิของสัตว์ การปฏิบัติต่อสัตว์ด้วยความมีมนุษยธรรม ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตร่วมโลก ดังเช่นในประเทศอังกฤษที่มีการรณรงค์เกี่ยวกับการคุ้มครองสัตว์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 มีการออกกฎหมาย Act to Prevent the Cruel And Improper Treatment of Cattle of 1822 และพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน คือ Animal Welfare Act 2006 ซึ่งมีการเน้นหนักทั้งในด้านของการปฏิบัติต่อสัตว์ การจัดสวัสดิภาพของสัตว์ให้เหมาะสม ส่วนทางด้านของประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และประเทศอื่น ๆ รวมทั้งภาคพื้นยุโรปก็ให้ความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องนี้ มีการออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องมากมาย การให้ความสนใจรับรู้และคุ้มครองสิทธิของสัตว์จึงเป็นกระแสโลกที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ ข้อความเบื้องต้น
หากจะกล่าวไปแล้ว สัตว์เป็นสิ่งที่มีชีวิตมีจิตใจ มีลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์ เพียงแต่การแสดงออกหรือการสื่อสารอาจจะไม่สามารถรับรู้และเข้าใจได้ทั้งหมด แต่สัตว์ก็เป็นเพื่อนร่วมโลกของมนุษย์ มีความเกี่ยวพันกับมนุษย์เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ป่าที่อยู่ตามธรรมชาติหรือที่มนุษย์นำมาเลี้ยงดูจนกลายเป็นสัตว์ที่อยู่ตามบ้าน นอกจากนี้มนุษย์ยังได้อาศัยแอบอิงเอาประโยชน์จากสัตว์หลายประการ ทั้งการใช้เป็นอาหาร ใช้งาน ใช้เพื่อความบันเทิง ตลอดจนการทดลองต่าง ๆ แต่การปฏิบัติต่อสัตว์ในหลายกรณีก็เป็นการกระทำที่เป็นการทารุณกรรม เป็นไปเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์จนเกินความพอดี ไม่สมเหตุสมผลทั้ง ๆ ที่มนุษย์ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ มีความศิวิไลซ์กว่าสิ่งมีชีวิตอื่น การกระทำทารุณกรรมต่อสัตว์จึงเป็นการแสดงออกถึงความโหดร้ายทางจิตใจและความเสื่อมทางสังคม ต่อมาจึงได้มีการเริ่มตระหนักเกี่ยวกับสิทธิของสัตว์ การปฏิบัติต่อสัตว์ด้วยความมีมนุษยธรรม ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตร่วมโลก ดังเช่นในประเทศอังกฤษที่มีการรณรงค์เกี่ยวกับการคุ้มครองสัตว์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 มีการออกกฎหมาย Act to Prevent the Cruel And Improper Treatment of Cattle of 1822 และพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน คือ Animal Welfare Act 2006 ซึ่งมีการเน้นหนักทั้งในด้านของการปฏิบัติต่อสัตว์ การจัดสวัสดิภาพของสัตว์ให้เหมาะสม ส่วนทางด้านของประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และประเทศอื่น ๆ รวมทั้งภาคพื้นยุโรปก็ให้ความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องนี้ มีการออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องมากมาย การให้ความสนใจรับรู้และคุ้มครองสิทธิของสัตว์จึงเป็นกระแสโลกที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
ข้อความเบื้องต้น หากจะกล่าวไปแล้ว สัตว์เป็นสิ่งที่มีชีวิตมีจิตใจ มีลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์ เพียงแต่การแสดงออกหรือการสื่อสารอาจจะไม่สามารถรับรู้และเข้าใจได้ทั้งหมด แต่สัตว์ก็เป็นเพื่อนร่วมโลกของมนุษย์ มีความเกี่ยวพันกับมนุษย์เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ป่าที่อยู่ตามธรรมชาติหรือที่มนุษย์นำมาเลี้ยงดูจนกลายเป็นสัตว์ที่อยู่ตามบ้าน นอกจากนี้มนุษย์ยังได้อาศัยแอบอิงเอาประโยชน์จากสัตว์หลายประการ ทั้งการใช้เป็นอาหาร ใช้งาน ใช้เพื่อความบันเทิง ตลอดจนการทดลองต่าง ๆ แต่การปฏิบัติต่อสัตว์ในหลายกรณีก็เป็นการกระทำที่เป็นการทารุณกรรม เป็นไปเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์จนเกินความพอดี ไม่สมเหตุสมผลทั้ง ๆ ที่มนุษย์ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ มีความศิวิไลซ์กว่าสิ่งมีชีวิตอื่น การกระทำทารุณกรรมต่อสัตว์จึงเป็นการแสดงออกถึงความโหดร้ายทางจิตใจและความเสื่อมทางสังคม ต่อมาจึงได้มีการเริ่มตระหนักเกี่ยวกับสิทธิของสัตว์ การปฏิบัติต่อสัตว์ด้วยความมีมนุษยธรรม ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตร่วมโลก ดังเช่นในประเทศอังกฤษที่มีการรณรงค์เกี่ยวกับการคุ้มครองสัตว์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 มีการออกกฎหมาย Act to Prevent the Cruel And Improper Treatment of Cattle of 1822 และพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน คือ Animal Welfare Act 2006 ซึ่งมีการเน้นหนักทั้งในด้านของการปฏิบัติต่อสัตว์ การจัดสวัสดิภาพของสัตว์ให้เหมาะสม ส่วนทางด้านของประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และประเทศอื่น ๆ รวมทั้งภาคพื้นยุโรปก็ให้ความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องนี้ มีการออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องมากมาย การให้ความสนใจรับรู้และคุ้มครองสิทธิของสัตว์จึงเป็นกระแสโลกที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
Keyword -