วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม - กันยายน ปี พ.ศ. 2566

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1003915499.pdf

  

คมสันต์ หลาวเหล็ก

CAS1515

ชื่อผู้วิจัย   คมสันต์ หลาวเหล็ก
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
-
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การพัฒนารูปแบบการสอนคิดสำหรับครูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สหวิทยาเขตทุ่งดอกกระเจียว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ) THE DEVELOPMENT OF THINKING TEACHING MODEL FOR SOCIAL STUDIES TEACHERS’ RELIGION AND CULTURE THUNG DOK KRACHIAO INTERDISCIPLINARY CAMPUS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE CHAIYAPHUM
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
การคิดของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ
2) พัฒนารูปแบบการสอนคิดสำหรับครูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ และ 3) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการสอนคิดสำหรับครูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ การศึกษาวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการ ด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด กลุ่มตัวอย่างเป็นครูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน 63 คน ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการสอนคิด และระยะที่ 3 ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ กลุ่มเป้าหมายเป็นครูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน 18 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2564 จำนวน 105 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการสอนคิดมุ่งพัฒนาครู 3 ด้าน คือ ด้านความรู้เกี่ยวกับการคิด การฝึกกระบวนการคิดให้แก่ครูผู้สอนและความรู้เกี่ยวกับการสอนคิด โดยมีขั้นตอนการเรียนรู้ 5 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 เข้าใจปัญหา ขั้นที่ 2 คิดทั้งกลุ่ม
ขั้นที่ 3 คิดทีละคน ขั้นที่ 4 ร่วมเสนอ ร่วมอภิปรายและ ขั้นที่ 5 ร่วมประมวล ร่วมประเมิน 2) ผลการประเมินประสิทธิผล
ของรูปแบบ พบว่า (1) ครูผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามรูปแบบดังกล่าวมีคะแนนเฉลี่ยทักษะการคิดหลังการอบรมสูงกว่าก่อน การอบรม (2) ครูผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิดได้ โดยมีค่าเฉลี่ยรวมความเหมาะสม
ของแผนการจัดการเรียนรู้เท่ากับ 3.93 อยู่ในระดับความเหมาะสมมากและ (3) นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยทักษะการคิด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
คำสำคัญ รูปแบบการสอนคิด; ครูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The purpose of this research is to 1) study the current situation and the need for learning management to develop the thinking of teachers in the social studies learning subject group under the Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum. 2) to develop a thinking teaching model for social studies teachers religion and culture under the Secondary Education Service Area Office Chaiyaphum.
3) study the effectiveness of the thinking teaching model for social studies teachers under the Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum. The research study was divided into three phases: Phase 1 studied the context, current conditions, and management needs. Learning to develop thinking the sample group was made up of 63 social studies teachers. Phase 2 is the development of the thinking teaching model, and phase 3 is evaluating the effectiveness of the model. The target group is social studies teachers. Religion and culture: 18 people and 105 students, academic year 2021
The results of the research revealed that 1) to teach teachers to think critically, develop teachers 3, that is, shoulder to shoulder thinking. Train the thinking process for the rest of the teachers and to encourage thinking or learning 5 steps: step 1 : understand the problem step 2 : think the whole group Step 3 : Think individually Step 4 : Participation content analytical participant and step 5 : multiple participant participate in the assessment. 2) The evaluation of the effectiveness of the model found that (1) the teachers who received the training according to the model had the mean scores after the training were higher than before the training. (2) Trained teachers can prepare a learning management plan that emphasizes thinking. with the average of the appropriateness Lesson Plan was equal to 3.93, in a very reasonable level, and (3) the students had higher post-learning thinking Skill scores than before.
The purpose of this research is to 1) study the current situation and the need for learning management to develop the thinking of teachers in the social studies learning subject group under the Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum. 2) to develop a thinking teaching model for social studies teachers religion and culture under the Secondary Education Service Area Office Chaiyaphum. 3) study the effectiveness of the thinking teaching model for social studies teachers under the Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum. The research study was divided into three phases: Phase 1 studied the context, current conditions, and management needs. Learning to develop thinking the sample group was made up of 63 social studies teachers. Phase 2 is the development of the thinking teaching model, and phase 3 is evaluating the effectiveness of the model. The target group is social studies teachers. Religion and culture: 18 people and 105 students, academic year 2021 The results of the research revealed that 1) to teach teachers to think critically, develop teachers 3, that is, shoulder to shoulder thinking. Train the thinking process for the rest of the teachers and to encourage thinking or learning 5 steps: step 1 : understand the problem step 2 : think the whole group Step 3 : Think individually Step 4 : Participation content analytical participant and step 5 : multiple participant participate in the assessment. 2) The evaluation of the effectiveness of the model found that (1) the teachers who received the training according to the model had the mean scores after the training were higher than before the training. (2) Trained teachers can prepare a learning management plan that emphasizes thinking. with the average of the appropriateness Lesson Plan was equal to 3.93, in a very reasonable level, and (3) the students had higher post-learning thinking Skill scores than before.
Keyword Thinking Teaching Model; Social Studies Teacher religion and culture


วารสารอื่นๆ

คมสันต์ หลาวเหล็ก

19 บทความ
ชื่อ - สกุล วารสาร
ไฟล์
หน้า
คมสันต์ หลาวเหล็ก
CAS1074
การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะผู้นำด้านภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี สำหรับนักเรียนระดับอาชีวศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คมสันต์ หลาวเหล็ก
CAS1151
การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะผู้นำด้านภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี สำหรับนักเรียนระดับอาชีวศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
138
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
คมสันต์ หลาวเหล็ก
CAS1207
วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
0
คมสันต์ หลาวเหล็ก
CAS1515
การพัฒนารูปแบบการสอนคิดสำหรับครูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สหวิทยาเขตทุ่งดอกกระเจียว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ
175
คมสันต์ หลาวเหล็ก
CAS1352
เฮอร์เมนูติกส์ : ศาสตร์แห่งการพัฒนาหลักสูตร
59