วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 8 ฉบับที่ เดือน ตุลาคม - ปี พ.ศ. 2561

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1542947482-16ED058T.pdf

  

นวพร วรรณทอง

692

ชื่อผู้วิจัย   นวพร วรรณทอง
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
-
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้แนวการสอนแบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน ของครูในพื้นที่กลุ่มจังหวัดสนุก
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา โดยโดยใช้แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน และ 2) ศึกษาประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโดยโดยใช้แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานของครูโรงเรียนในพื้นที่กลุ่มจังหวัดสนุก การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 คือ การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน แนวคิด ทฤษฎี ขั้นที่ 2 การสร้างและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมขั้นที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม และระยะที่ 2 คือ การศึกษาประสิทธิภาพและการปรับปรุงหลักสูตร ฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโรงเรียนในพื้นที่กลุ่มจังหวัดสนุก จำนวน 70 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) จากครูที่เข้ารับการพัฒนาในโครงการพัฒนาวิชาชีพครูทั้งระบบ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 การตรวจสอบหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโดยโดยใช้แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานใช้วิธีการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อหาค่าเฉลี่ย ( )
ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าสถิติทดสอบที (t-test for dependent samples) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1. หลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโดยโดยใช้แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มี 4 องค์ประกอบหลัก คือ 1) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2) เนื้อหา 3) กระบวนการฝึกอบรมและ 4) การวัดและประเมินผล
2. ประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโดยโดยใช้แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน พบว่า 1) ความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโดยโดยใช้แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานของครูหลังฝึกอบรมสูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ทักษะการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโดยโดยใช้แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน อยู่ในระดับดี ( =4.45) และ3) เจตคติของครูที่มีต่อหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโดยโดยใช้แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.86)
คำสำคัญ การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม, การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ, แนวการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The objectives of this research were: 1) to develop the training course of English instruction in Primary levels through Problem - Based Learning approach and 2) to investigate the effectiveness of the training course of English instruction in Primary levels through Problem-Based Learning approach implemented by teachers in SANUK province cluster.
The research conduction was divided into two phases comprised of phase 1: step
1) study the related empirical documents research, principles and theories, and step
2) construct and develop the training curriculum, and step 3) implementation of the developed training curriculum. Phases 2 was the investigation and the improvement of the developed training curriculum. The research samples were 70 teachers who were selected through purposive sampling from teachers who participated in the Teacher Professional Development Project held by Sakon Nakhon Rajabhat University in 2016. The developed training course was investigated by five experts. The collected data were analyzed by software program for mean, percentage t-test for dependent samples and standard deviation in terms of quantitative data, and content analysis for qualitative data.
The findings revealed that
1. The training curriculum on training course of English instruction in primary levels through problem-based learning approach comprised of 1) course objectives, 2) content structures, 3) training process and 4) training measurement and evaluation.
2. The efficacy of the developed training curriculum was presented as 1) the comprehension of English instruction in primary levels through problem-based learning approach after training was higher than before training with statistically significant at .01,2) the English instruction in primary levels through problem-based learning approach were at high level ( =4.45), and 3) the attitudes of teachers towards the developed training curriculum was at the highest level ( =4.86).
The objectives of this research were: 1) to develop the training course of English instruction in Primary levels through Problem - Based Learning approach and 2) to investigate the effectiveness of the training course of English instruction in Primary levels through Problem-Based Learning approach implemented by teachers in SANUK province cluster. The research conduction was divided into two phases comprised of phase 1: step 1) study the related empirical documents research, principles and theories, and step 2) construct and develop the training curriculum, and step 3) implementation of the developed training curriculum. Phases 2 was the investigation and the improvement of the developed training curriculum. The research samples were 70 teachers who were selected through purposive sampling from teachers who participated in the Teacher Professional Development Project held by Sakon Nakhon Rajabhat University in 2016. The developed training course was investigated by five experts. The collected data were analyzed by software program for mean, percentage t-test for dependent samples and standard deviation in terms of quantitative data, and content analysis for qualitative data. The findings revealed that 1. The training curriculum on training course of English instruction in primary levels through problem-based learning approach comprised of 1) course objectives, 2) content structures, 3) training process and 4) training measurement and evaluation. 2. The efficacy of the developed training curriculum was presented as 1) the comprehension of English instruction in primary levels through problem-based learning approach after training was higher than before training with statistically significant at .01,2) the English instruction in primary levels through problem-based learning approach were at high level ( =4.45), and 3) the attitudes of teachers towards the developed training curriculum was at the highest level ( =4.86).
Keyword The Development of Training Curriculum, English instruction, Problem-Based Learning approach