ไฟล์ ดาวน์โหลด |
1549082759-8.2.2.pdf |
|||||||||
|
ชื่อผู้วิจัย นัยนา บุญหล้า
|
|||||||||
บทคัดย่อ ภาษาไทย |
การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี 2) ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี 3) พัฒนาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 139 คน ใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่ง ชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) และเปิดตารางสำเร็จรูปของเคจซีมอร์แกน (Krejcie and Morgan อ้างอิงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ระยะที่ 3 การพัฒนาแนวทางการบริการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี ผู้คุณวุฒิจำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบประเมิน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .965 ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNIModified) และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบและตัวชี้วัดการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 48 ตัวชี้วัด และผลการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิโดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2) สภาพปัจจุบันการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี โดยรวมและรายด้านทุกด้าน อยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 3) แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี พบว่า 1) ด้านการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา มีแนวทางพัฒนา 14 แนวทาง 2) ด้านการจัดทำและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา มีแนวทางพัฒนา 6 แนวทาง 3) ด้านกำกับติดตามและประเมินผลหลักสูตรสถานศึกษา มีแนวทางพัฒนา 16 แนวทาง และ 4) ด้านการส่งเสริมสนับสนุนหลักสูตรสถานศึกษา มีแนวทางพัฒนา 18 แนวทางผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี โดยผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า ความเหมาะสมของแนวทางอยู่ในระดับมาก และความเป็นไปได้ของแนวทางอยู่ในระดับมากที่สุด |
|||||||||
คำสำคัญ | ||||||||||
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ | The purposes of this research were to 1) study the elements and indicators on school curriculum management of Catholic schools under the diocese Ubon Ratchathani 2) study the present and desirable on school curriculum management for Catholic schools under the diocese Ubon Ratchathani 3) develop guidelines on school curriculum. For Catholic schools under the diocese Ubon Ratchathani. The research was divided into 3 phases: Phase 1 study of the elements and indicators of management courses, basic education for Catholic schools. Under the diocese Ubon Ratchathani Professional from 5 expertists, Phase 2 study the current conditions, and desirable on school curriculum from the sample School administrators head of academic head of learning circumstances 139 people using stratified Random Sampling and by the tables of Krejcie and Morgan, Phase 3 development guidelines for the management of the school curriculum, for Catholic schools Ubon Ratchathani diocese under the qualifications of 9 expertists The instruments were questionnaires, interviews, focus group notes. And evaluation the statistical analysis of the data, including IOC, percentage, means, standard Deviation. The reliability of the whole .965, the index needs (PNIModified) and content analysis. Results showed that ; 1) Elements and Indicators for management courses on basic education for Catholic schools under the diocese Ubon Ratchathani consists of 4 components and 48 indicators assessed by the experts as a whole and all sides were at the highest level. 2) Current conditions management curriculum of basic education for Catholic schools, and specifically by all sides was at the high level, the desirable management of basic education curriculum the overall aspects and all areas were at the highest level. 3) Guidelines for the management of basic education curriculum for Catholic schools, found that : 1) the preparation, there were 14 guidelines, 2) the implementation of the curriculum were 6 development guidelines, 3) the monitoring and evaluation of curriculum, there were 16 guidelines and 4) to support the school curriculum there were 18 guidelines. The purposes of this research were to 1) study the elements and indicators on school curriculum management of Catholic schools under the diocese Ubon Ratchathani 2) study the present and desirable on school curriculum management for Catholic schools under the diocese Ubon Ratchathani 3) develop guidelines on school curriculum. For Catholic schools under the diocese Ubon Ratchathani. The research was divided into 3 phases: Phase 1 study of the elements and indicators of management courses, basic education for Catholic schools. Under the diocese Ubon Ratchathani Professional from 5 expertists, Phase 2 study the current conditions, and desirable on school curriculum from the sample School administrators head of academic head of learning circumstances 139 people using stratified Random Sampling and by the tables of Krejcie and Morgan, Phase 3 development guidelines for the management of the school curriculum, for Catholic schools Ubon Ratchathani diocese under the qualifications of 9 expertists The instruments were questionnaires, interviews, focus group notes. And evaluation the statistical analysis of the data, including IOC, percentage, means, standard Deviation. The reliability of the whole .965, the index needs (PNIModified) and content analysis.
Results showed that ; 1) Elements and Indicators for management courses on basic education for Catholic schools under the diocese Ubon Ratchathani consists of 4 components and 48 indicators assessed by the experts as a whole and all sides were at the highest level. 2) Current conditions management curriculum of basic education for Catholic schools, and specifically by all sides was at the high level, the desirable management of basic education curriculum the overall aspects and all areas were at the highest level. 3) Guidelines for the management of basic education curriculum for Catholic schools, found that :
1) the preparation, there were 14 guidelines, 2) the implementation of the curriculum were 6 development guidelines, 3) the monitoring and evaluation of curriculum, there were 16 guidelines and 4) to support the school curriculum there were 18 guidelines.
|
|||||||||
Keyword | Guidelines for development, The Management of Basic Education Curriculum, Catholic School | |||||||||
นัยนา บุญหล้า
2 บทความชื่อ - สกุล | วารสาร | ไฟล์ |
หน้า |
|
---|---|---|---|---|
|
นัยนา บุญหล้า CAS481 |
การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี | ||
|
นัยนา บุญหล้า CAS716 |
การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับโรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดสังฆมณฑลอุบลราชธานี |