วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม ปี พ.ศ. 2562

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1577251585-5.(32-38).pdf

  

กมลพรรณ จักรแก้ว

CAS824

ชื่อผู้วิจัย   กมลพรรณ จักรแก้ว
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
รพีพร เทียมจันทร์2 วราภรณ์ ศิริสว่าง3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานในตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบไคสแควร์
ผลการศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 60 - 69 ปี (70.80%) และมีระยะเวลาที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานอยู่ในช่วง 1 – 5 ปี เมื่อศึกษาความรู้และการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ในระดับสูง และการดูแลตนเอง ทั้ง 6 ด้านอยู่ในระดับดี ( =2.45, S.D.=0.15) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน พบว่า อายุ ความรู้ และระยะเวลาที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ไม่มีความสัมพันธ์กับการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The objective of this research to study self-care of the elderly with diabetes. The sample group consisted of 154 elderly diabetics in Loungnuae Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province. The questionnaires used for data collection. The quantitative data were analyzed by using descriptive statistics and Chi-Square test.
The results from analyzing the quantitative data showed that the majority of the elderly diabetics were females, aged between 60-69 years old. (70.80%) and were diagnosed as diabetics from one to five years. When knowledge and self-care of the sample group were examined, the results showed that their knowledge about the disease was at a high level and all six aspects of self-care were at a good level ( = 2.45, S.D. = 0.15). When the relationship between individual factors and self-care behavior of the sample group was investigated, it is found that age, knowledge and duration of suffering were not related to their self-care.
The objective of this research to study self-care of the elderly with diabetes. The sample group consisted of 154 elderly diabetics in Loungnuae Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province. The questionnaires used for data collection. The quantitative data were analyzed by using descriptive statistics and Chi-Square test. The results from analyzing the quantitative data showed that the majority of the elderly diabetics were females, aged between 60-69 years old. (70.80%) and were diagnosed as diabetics from one to five years. When knowledge and self-care of the sample group were examined, the results showed that their knowledge about the disease was at a high level and all six aspects of self-care were at a good level ( = 2.45, S.D. = 0.15). When the relationship between individual factors and self-care behavior of the sample group was investigated, it is found that age, knowledge and duration of suffering were not related to their self-care.
Keyword Self-care, Elderly people, Diabetes