วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม ปี พ.ศ. 2562

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1577264948-15.(94-98).pdf

  

วจิราภรณ์ สารบรรณ

CAS834

ชื่อผู้วิจัย   วจิราภรณ์ สารบรรณ
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
สืบศิริ แซ่ลี้2
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคความจริงเสริม 3 มิติ เรื่อง ดาราศาสตร์และอวกาศ
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษารูปแบบการปฏิสัมพันธ์และระบบความจริงเสริม สำหรับนำไปออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศ 2) เพื่อพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศโดยใช้ระบบความจริงเสริม 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ที่ได้รับชมสื่อปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศ
กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน และ ผู้ที่เข้ามาใช้บริการศูนย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ดจำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความต้องการเพื่อการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่าง 2) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบประเมินคุณภาพสื่อจากผู้เชี่ยวชาญ 4) แบบประเมินความพึงพอใจจากกลุ่มตัวอย่าง และ 5) สื่อแอนิเมชัน 3 มิติโดยใช้เทคนิคความจริงเสริมแบบปฏิสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลการจากผู้เชี่ยวชาญ และกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการสื่อประชาสัมพันธ์ประเภทแผ่นพับและเทคนิคความจริงเสริมด้านแอนิเมชัน 3 มิติ เรื่องดาราศาสตร์ ระบบสุริยะจักรวาล ในขณะที่ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่ามีค่าเฉลี่ย (x ̅= 4.80) คืออยู่ในเกณฑ์คุณภาพมากที่สุด ส่วนผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างพบว่า มีค่าเฉลี่ย (x ̅ = 4.74) คือ อยู่ในเกณฑ์ระดับมีความพึงพอใจมากที่สุด
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ This research aimed to: 1) study forms of 3D animations based on interactive and augmented reality technology to design public relations media regarding astronomy and space; 2) develop interactive 3D animated media regarding astronomy and space; and 3) evaluate the satisfaction of viewers of interactive 3D animated media regarding astronomy and space.
The sample group, which was selected by purposive sampling method, consisted of three experts and 30 users of Roi Et Science and Cultural Center for Education. The research tools included: 1) a questionnaire on the sample group’s needs; 2) interview for in-depth data from experts; 3) evaluation form on media quality by experts; 4) evaluation form of the sample group’s satisfaction; and 5) 3D animated media based on interactive and augmented reality technology. The statistical tools included percentage, mean and standard deviation. The results of the data analysis regarding the experts and 30 samples found that the sample group preferred public relations media in the form of leaflet and 3D animation based on augmented reality technology regarding astronomy and the solar system. The analytical results of the media quality evaluation by the experts found that the mean was (x ̅=4.80) or referring to the highest quality. The analytical results of the satisfaction evaluation found that the mean was (x ̅=4.74) or referring to the highest satisfaction level.
This research aimed to: 1) study forms of 3D animations based on interactive and augmented reality technology to design public relations media regarding astronomy and space; 2) develop interactive 3D animated media regarding astronomy and space; and 3) evaluate the satisfaction of viewers of interactive 3D animated media regarding astronomy and space. The sample group, which was selected by purposive sampling method, consisted of three experts and 30 users of Roi Et Science and Cultural Center for Education. The research tools included: 1) a questionnaire on the sample group’s needs; 2) interview for in-depth data from experts; 3) evaluation form on media quality by experts; 4) evaluation form of the sample group’s satisfaction; and 5) 3D animated media based on interactive and augmented reality technology. The statistical tools included percentage, mean and standard deviation. The results of the data analysis regarding the experts and 30 samples found that the sample group preferred public relations media in the form of leaflet and 3D animation based on augmented reality technology regarding astronomy and the solar system. The analytical results of the media quality evaluation by the experts found that the mean was (x ̅=4.80) or referring to the highest quality. The analytical results of the satisfaction evaluation found that the mean was (x ̅=4.74) or referring to the highest satisfaction level.
Keyword 3D animation, interactive, augmented reality technology