วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มีนาคม ปี พ.ศ. 2563

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1585994163-10.1.4.pdf

  

สุมิตรา ไอยรา

CAS895

ชื่อผู้วิจัย   สุมิตรา ไอยรา
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
ฌัชฌานันท์ นิติวัฒนะ2 ศรุตยา สุขเดช 3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การรับรู้ตรามหาวิทยาลัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและการรับรู้ตรามหาวิทยาลัยที่มีผลต่อตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จำนวน 12 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยมีวิธีการเลือกการสุ่มแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) และวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis)
ผลวิจัย พบว่า พฤติกรรมการรับรู้ที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือ ด้านการส่งเสริมการตลาดให้ความสำคัญในระดับมาก รองลงมาคือผลิตภัณฑ์ให้ความสำคัญระดับมาก ด้านสถานที่/ช่องทางการจัดจำหน่ายและด้านกระบวนการให้บริการ ด้านราคา ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านบุคลากร ตามลำดับ การรับรู้ตรามหาวิทยาลัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ค่า KMO (Kaiser-Meyer-Olkin) มีค่า (0.899) ได้แก่ 1.ด้านบุคลากร (People or Employees) คณาจารย์ที่สอนมีคุณวุฒิและมีประสบการณ์ในการสอน นำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกต์ในการสอน 2).ด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการ (Product or Service) 3). ด้านราคา(Price) มีทุนการศึกษา มีกองทุนให้กู้ยืม 4).ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion) เพื่อนแนะนำให้เรียนต่อที่มหาวิทยาลัย คำแนะนำของญาติ 5).ลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence)
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ This research aimed to study the behavior and band perceptions university ‎that affect decision making ‎study higher education of senior high school in the upper northeast. The samples used in this study were 400 undergraduate students from 12 extra large schools during academic year 2017. The method used for sampling was purposive sampling. Questionnaires were used to collect the data. The statistical methods used to analyze data were frequency, percentage, mean, standard deviation and factors analysis
The results were consistently shown that : The behavior of undergraduate students concerning the factors affecting decision to study in higher education level was promotion at high level second was product or service next was distribution channels process price physical evidence and people or employees. (0.899) Value of KMO (Kaiser-Meyer-Olkin there for people or employees : 1) Faculty were qualification, experience in teaching, more knowledgeable, to carry high technology for their student.
2) Product or service 3). Price : scholarship, loan 4). Promotion : recommend by friend, cousin and
5). Physical evidence.
This research aimed to study the behavior and band perceptions university ‎that affect decision making ‎study higher education of senior high school in the upper northeast. The samples used in this study were 400 undergraduate students from 12 extra large schools during academic year 2017. The method used for sampling was purposive sampling. Questionnaires were used to collect the data. The statistical methods used to analyze data were frequency, percentage, mean, standard deviation and factors analysis The results were consistently shown that : The behavior of undergraduate students concerning the factors affecting decision to study in higher education level was promotion at high level second was product or service next was distribution channels process price physical evidence and people or employees. (0.899) Value of KMO (Kaiser-Meyer-Olkin there for people or employees : 1) Faculty were qualification, experience in teaching, more knowledgeable, to carry high technology for their student. 2) Product or service 3). Price : scholarship, loan 4). Promotion : recommend by friend, cousin and 5). Physical evidence.
Keyword brand perceptions university, decision making ‎study