วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือน มีนาคม - มิถุนายน ปี พ.ศ. 2563

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1596600249-17-10.jr11(2.2563)T.pdf

  

ลัดดา พะชำนิ

CAS944

ชื่อผู้วิจัย   ลัดดา พะชำนิ
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
ภัทร์ธมณฑน์ เรืองวิทยาวุฒิ
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาบริหารธุรกิจและการบัญชี
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต 2 2) พฤติกรรมการสอนของครู
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2 และ3)
ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ
ครูที่ปฏิบัติงานสอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2 จำนวน 310 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 และ 0.90
สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์แอลฟา
และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า
1. กระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2
โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยเรียงตามลำดับ จากมากไปหาน้อย
ดังนี้ ด้านการสร้างสื่อและเครื่องมือ ด้านการวางแผนการนิเทศ ด้านการปฏิบัติการนิเทศ
และด้านการศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ
2. พฤติกรรมการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2
โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการใช้สื่อและเทคโนโลยี ด้านการปฏิบัติการนิเทศ และด้านการวิจัยในชั้นเรียน
3. กระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2 มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.1
ผลจากการวิจัยสรุปได้ว่า กระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษามีผลต่อพฤติกรรมการสอนของครูในระดับสูง
ฉะนั้นจึงต้องให้ความสำคัญ กับกระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษา
โดยต้องมีการวางแผนการดำเนินงานตามกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
เพื่อให้ครูมีพฤติกรรมการสอนที่เหมาะสม นำไปสู่การพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพสูง
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ This research aimed to study: 1) the internal supervision process under Saraburi Primary
Educational Service Area Office 2, 2) the teachers teaching behaviors under Saraburi Primary Educational
Service Area Office 2, and 3) the relationship between the internal supervision process and teachers
teaching behaviors under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2. The samples of this research
were 310 teachers under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2. The research instruments
were 5 rating
scale questionnaires with reliability of 0.94 and 0.90. The statistics used for data analysis were to obtain various descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, Conbach's alpha
coefficient and Pearson's correlation coefficient.
The finding were as follows:
1. The internal supervision process under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2
in educational institution was at the high level. When considering each aspect in every level with average
values in descending order, as follows: Media creation and tools, Supervision planning, Supervisory
practice and Education current conditions problems and needs.
2. The teacher's teaching behavior under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2
as a whole was at the high level. When considering each aspect in every level with average values in
descending order as follows: learning activities, the use of media and technology, supervisory practice and
classroom research.
3. The internal supervision process and teacher's teaching behavior under Saraburi Primary
Educational Service Area Office 2. Had a high level of positive relationship with the correlation coefficient
between 0.71 and 0.89, which has a significant positive correlation at level 0.1. The results of the research
concluded that internal supervision process affects teachers' teaching behavior at a high level. Therefore
there must pay attention to the supervision process within the educational institution by having a systematic
operation plan in accordance with the internal supervision system. So that teachers have appropriate
teaching behavior, appropriate teaching behavior, leading to self-development and develop learners to high
quality.
This research aimed to study: 1) the internal supervision process under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2, 2) the teachers teaching behaviors under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2, and 3) the relationship between the internal supervision process and teachers teaching behaviors under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2. The samples of this research were 310 teachers under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2. The research instruments were 5 rating scale questionnaires with reliability of 0.94 and 0.90. The statistics used for data analysis were to obtain various descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, Conbach's alpha coefficient and Pearson's correlation coefficient. The finding were as follows: 1. The internal supervision process under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2 in educational institution was at the high level. When considering each aspect in every level with average values in descending order, as follows: Media creation and tools, Supervision planning, Supervisory practice and Education current conditions problems and needs. 2. The teacher's teaching behavior under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2 as a whole was at the high level. When considering each aspect in every level with average values in descending order as follows: learning activities, the use of media and technology, supervisory practice and classroom research. 3. The internal supervision process and teacher's teaching behavior under Saraburi Primary Educational Service Area Office 2. Had a high level of positive relationship with the correlation coefficient between 0.71 and 0.89, which has a significant positive correlation at level 0.1. The results of the research concluded that internal supervision process affects teachers' teaching behavior at a high level. Therefore there must pay attention to the supervision process within the educational institution by having a systematic operation plan in accordance with the internal supervision system. So that teachers have appropriate teaching behavior, appropriate teaching behavior, leading to self-development and develop learners to high quality.
Keyword Keywords: school internal supervision process, teacher's teaching behavior.


วารสารอื่นๆ

ลัดดา พะชำนิ

4 บทความ
ชื่อ - สกุล วารสาร
ไฟล์
หน้า
ลัดดา พะชำนิ
CAS944
ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2
126
ลัดดา พะชำนิ
CAS944
ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2
0
ลัดดา พะชำนิ
CAS944
ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2
ลัดดา พะชำนิ
CAS944
ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2