วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มีนาคม ปี พ.ศ. 2564

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1624250816-10(78-84).pdf

  

ชนาภา อิศรางกูร ณ อยุธยา

CAS1052

ชื่อผู้วิจัย   ชนาภา อิศรางกูร ณ อยุธยา
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
1, นฤมล สินสุพรรณ2, อำนาจ ชนะวงศ์3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การพัฒนาโปรแกรมการให้ความรู้สำหรับ การป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดจากการสวนหัวใจโดยการฉีดสีหลอดเลือดโคโรนารีในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจและผู้ดูแล ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวคิดของ Kemmis and Mc. Taggart R. (1988) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาโปรแกรมการให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติสำหรับการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดจากการสวนหัวใจโดยการฉีดสีหลอดเลือดโคโรนารีในผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดหัวใจห้องตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือด ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วย 32 คนและผู้ดูแล 32 คนคัดเลือกแบบเจาะจงระยะเวลาการทดลองระหว่างเดือนกันยายนถึงตุลาคม 2563 โดยใช้เครื่องมือในการศึกษาได้แก่ 1) แบบสอบถาม 2) คู่มือความรู้และการปฏิบัติตัวภายหลังทำหัตถการ 3) ใช้การสังเกตอาการและการแสดง 4) การติดตามทบทวนความรู้และการปฏิบัติในผู้ดูแลภายหลังทำหัตถการ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติเชิงปริมาณความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ Paired t-test
ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการศึกษาพบว่าหลังการทดลองผู้ป่วยทั้ง 32 คนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนใดๆ ที่เกิดจากการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยได้กิจกรรมของโปรแกรมในการดำเนินงาน คือ 1) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดจากการสวนหัวใจ 2) การปฏิบัติต่อผู้ป่วยภายหลังการทำหัตถการสวนหัวใจของผู้ดูแลมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้และการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยหลังการพัฒนามากกว่าก่อนพัฒนาอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .001*
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The purposes of this action research by Kemmis ane Mc. Taggart R. (1988) were to study the development of education program for vascular complication prevention among elders with Coronary angiography and caregiver at cardiac catheterization lab of Queen Sirikit Heart Center of the Northeast.
A total sample of 32 patients and 32 caregivers obtaining purposive sampling technique data were collected by worksheets from hand out document such as 1) questionnaire 2) The handout for knowledge 3) Technique of observation signs and symptoms 4) Follow up caregivers with reviewed education and practice. Data analysis was done by quantitative statistics such as percentage, mean, standard deviation and paired t-test at p-value 0.05
The result after program intervention: the sample of 32 Elders and 32 caregivers who were sample understood and well practice for taking care of patients and the development result use paired t-test. The caregiver post-test mean scores were higher than pre-test with statistical significant at the level of .001*
The purposes of this action research by Kemmis ane Mc. Taggart R. (1988) were to study the development of education program for vascular complication prevention among elders with Coronary angiography and caregiver at cardiac catheterization lab of Queen Sirikit Heart Center of the Northeast. A total sample of 32 patients and 32 caregivers obtaining purposive sampling technique data were collected by worksheets from hand out document such as 1) questionnaire 2) The handout for knowledge 3) Technique of observation signs and symptoms 4) Follow up caregivers with reviewed education and practice. Data analysis was done by quantitative statistics such as percentage, mean, standard deviation and paired t-test at p-value 0.05 The result after program intervention: the sample of 32 Elders and 32 caregivers who were sample understood and well practice for taking care of patients and the development result use paired t-test. The caregiver post-test mean scores were higher than pre-test with statistical significant at the level of .001*
Keyword The Prevention Coronary angiography, Vascular Complications Preventions Coronary Angiography, Elderly, Caregiver