วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม ปี พ.ศ. 2561

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1549083592-8.2.13.pdf

  

เดโช แสนภักดี

CAS727

ชื่อผู้วิจัย   เดโช แสนภักดี
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
กษม ชนะวงศ์2 ชวน แพงปัสสา3 ผดุงศักดิ์ ศรีผักหอม4
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ในศตวรรษที่ 21 : ผลกระทบ และรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ สู่ความยั่งยืน
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลกระทบ ที่เกิดขึ้นกับประชากรผู้สูงอายุของประเทศไทย จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร และสังเคราะห์รูปแบบของการจัดสวัสดิการให้กับประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ
พบว่า “สวัสดิการแบบบูรณาการ” (Welfare Mix) จะเป็นรูปแบบที่เข้าถึงปัญหา และความต้องการที่หลากหลายของผู้สูงอายุ ภายใต้สังคม วัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม และเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน โดยมีระบบความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกัน เป็นทุนสำคัญทางสังคม (Social Capital) ที่มีอยู่เดิมในสังคมไทย ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรอาสาสมัคร องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรชุมชน ได้มาดำเนินงานร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน บนฐานความสัมพันธ์แบบหุ้นส่วน (Partnership) ด้วยการเป็นเจ้าภาพร่วมกัน เพื่อเติมเต็มบริการจากภาครัฐให้เกิดความทั่วถึง และเท่าเทียมให้ได้มากที่สุด สังคมผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องท้าทาย ที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกันอย่างจริงจัง เพื่อสนับสนุนให้เกิดกลไกของชาติ และผลักดันการจัดสวัสดิการของผู้สูงอายุ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ อันจะนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาสังคมเพื่อคนทุกวัย ได้อย่างยั่งยืน
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The objectives of this paper aimed to present an impact of the problem with the elderly population of Thailand, by using the structure of the population and synthesize it with the pattern of welfare for the elderly population.
The results of this research found that: "Welfare Mix" was a problematic form and a diverse need of the elderly under different societies, cultures, traditions, values and economics, by a well - connected system so it is a special social capital. In the Thai society with the cooperation of all sectors, the agency government, private sector, local administration, volunteer organizations, NGOs and community organizations with an effort to work together by sharing knowledge and studying the basis of relations
showing partnership by hosting together to complete the services from the government thoroughly and equally. Elderly society is a challenge for all parties that must consider a serious cooperation in order to support the national mechanism, and push the welfare of the elderly achievement that would lead to social development goals for people of all ages for sustainability.
The objectives of this paper aimed to present an impact of the problem with the elderly population of Thailand, by using the structure of the population and synthesize it with the pattern of welfare for the elderly population. The results of this research found that: "Welfare Mix" was a problematic form and a diverse need of the elderly under different societies, cultures, traditions, values and economics, by a well - connected system so it is a special social capital. In the Thai society with the cooperation of all sectors, the agency government, private sector, local administration, volunteer organizations, NGOs and community organizations with an effort to work together by sharing knowledge and studying the basis of relations showing partnership by hosting together to complete the services from the government thoroughly and equally. Elderly society is a challenge for all parties that must consider a serious cooperation in order to support the national mechanism, and push the welfare of the elderly achievement that would lead to social development goals for people of all ages for sustainability.
Keyword Elderly people, Welfare mix, Sustainability