วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มีนาคม ปี พ.ศ. 2563

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1585994233-10.1.7.pdf

  

จุฬามาศ จันทร์ศรีสุคต

CAS898

ชื่อผู้วิจัย   จุฬามาศ จันทร์ศรีสุคต
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
รพีพร สร้อยน้ำ2 นริสา พิชัยวรุตมะ3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาเศรษฐศาสตร์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) การพัฒนารูปแบบการบ่มเพาะคุณลักษณะที่ดีของเยาวชนไทยเพื่อยกระดับคุณภาพของสังคม โดยยึดหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการบ่มเพาะคุณลักษณะที่ดีของเยาวชนเพื่อยกระดับคุณภาพของสังคมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 2) เพื่อศึกษาผลการนำรูปแบบการบ่มเพาะคุณลักษณะที่ดีของเยาวชนเพื่อยกระดับคุณภาพของสังคมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในด้าน (1) คุณลักษณะของเยาวชนไทย และ
(2) การยกระดับคุณภาพของสังคมโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในด้านคุณลักษณะของครัวเรือนโดยมีกลุ่มเป้าหมายในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนแสงอร่ามพิทยาคม อำเภอหนองวัวซอ โดยมีเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ รูปแบบการ บ่มเพาะคุณลักษณะที่ดีของเยาวชนไทยเพื่อยกระดับคุณภาพของสังคมฯ แบบประเมินคุณลักษณะที่ดีของเยาวชนไทย และแบบประเมินคุณลักษณะของครัวเรือน ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการบ่มเพาะฯ
เป็นแบบอย่างของการจัดกิจกรรมที่ประกอบด้วย (1) การสร้างแรงบันดาลใจ ได้แก่ การสร้างความตระหนักรู้ให้แก่เยาวชน และการกระตุ้นให้คิด การลงภาคสนาม เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชน และการปฏิบัติงานในพื้นที่จริงโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจ การเยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ที่มีความสอดคล้องกับอาชีพและความเป็นอยู่ของคนในชุมชน (2) การให้ความรู้ ได้แก่ การให้ความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทำโครงงาน การเลือกกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน การวางแผนกิจกรรมร่วมกับชุมชน และการนำไปปฏิบัติในชุมชน (3) การลงมือปฏิบัติ ได้แก่ การลงมือปฏิบัติ การติดตามความก้าวหน้า และการสนับสนุน/ช่วยเหลือจากครอบครัวหรือชุมชน และ (4) การประเมินผล ได้แก่ การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเป็นการติดตามความก้าวหน้าและการประเมินผลเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ และ 2) การใช้รูปแบบการบ่มเพาะฯ พบว่า (1) นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยคุณลักษณะที่ดีของเยาวชนไทยที่ประเมินโดยผู้ปกครองก่อนใช้ เท่ากับ 76.96
หลังใช้ เท่ากับ 122.11 คะแนนเฉลี่ยที่ประเมินโดยครูก่อนใช้ เท่ากับ 91.79 หลังใช้ เท่ากับ 125.79 และมีคะแนนเฉลี่ยที่ประเมินโดยผู้ปกครองและครูหลังการใช้สูงกว่าก่อนการใช้ และ (2) การยกระดับคุณภาพของสังคมในด้านคุณลักษณะของครัวเรือน พบว่า คะแนนเฉลี่ยคุณลักษณะของครัวเรือนก่อนใช้รูปแบบการบ่มเพาะฯ มีค่าเท่ากับ 52.00 หลังใช้รูปแบบการบ่มเพาะฯ มีค่าเท่ากับ 73.61 โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังการใช้สูงกว่าก่อนการใช้
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The research purposes were to: 1) develop positive characteristics of Thai youth incubators model for improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy, and 2) study the effects of using positive characteristics of Thai youth incubators model for improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy on positive characteristics of Thai youth and improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy in characteristics of household. The samples were grade 10-12 students. The research instruments were incubators model for improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy, assessment form for positive characteristics of Thai youth, and assessment form for characteristics of household based on the philosophy of sufficiency economy. The research results revealed that; 1) Positive characteristics of Thai youth incubators model for improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy comprised of (1) making inspiration composed of making awareness for youth and encourage thinking field experiment for learning about the important of natural resources that related with the way of life of people in the community and manipulation in the real site by cooperation, visiting learning resources in the community that using the philosophy of sufficiency economy to correspond career and the way of life for people in the community, (2) giving knowledge such as knowledge about the philosophy of sufficiency economy principles of doing project, planning the activities with community and implementing in the community, (3) manipulation such as doing monitoring and supporting from families or community, and (4) evaluation such as arranging 2 learning exchange platform in order to monitor and assess for worthiness and 2) The implementation of positive characteristics of Thai youth incubators model founded that; (1) the students’ posttest mean scores of positive characteristics of Thai youth form parents and teachers assessment were higher the pre-test and (2) the mean scores on the characteristics of household founded that after using was higher than before using.
The research purposes were to: 1) develop positive characteristics of Thai youth incubators model for improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy, and 2) study the effects of using positive characteristics of Thai youth incubators model for improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy on positive characteristics of Thai youth and improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy in characteristics of household. The samples were grade 10-12 students. The research instruments were incubators model for improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy, assessment form for positive characteristics of Thai youth, and assessment form for characteristics of household based on the philosophy of sufficiency economy. The research results revealed that; 1) Positive characteristics of Thai youth incubators model for improving social quality based on the philosophy of sufficiency economy comprised of (1) making inspiration composed of making awareness for youth and encourage thinking field experiment for learning about the important of natural resources that related with the way of life of people in the community and manipulation in the real site by cooperation, visiting learning resources in the community that using the philosophy of sufficiency economy to correspond career and the way of life for people in the community, (2) giving knowledge such as knowledge about the philosophy of sufficiency economy principles of doing project, planning the activities with community and implementing in the community, (3) manipulation such as doing monitoring and supporting from families or community, and (4) evaluation such as arranging 2 learning exchange platform in order to monitor and assess for worthiness and 2) The implementation of positive characteristics of Thai youth incubators model founded that; (1) the students’ posttest mean scores of positive characteristics of Thai youth form parents and teachers assessment were higher the pre-test and (2) the mean scores on the characteristics of household founded that after using was higher than before using.
Keyword Incubators Model, Positive Characteristics of Thai Youth, Philosophy of Sufficiency Economy