วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือน มีนาคม - มิถุนายน ปี พ.ศ. 2563

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1596600022-1-19.jr20T.pdf

  

ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล

CAS928

ชื่อผู้วิจัย   ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
วิภาพร พลับนิล2 ศรันยา ดวงเดือน3, วัลลิดา ราชกรม4 กุลธรา จงตระการสมบัติ5, ชัชณี คำภิบาล6
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสภาพปัญหาการฝึกปฏิบัติงานในคลินิกของนักศึกษาพยาบาล และเพื่อพัฒนารูปแบบ และประเมินประสิทธิผลการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก ผู้ให้ข้อมูลหลักและกลุ่มตัวอย่างได้แก่พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติหน้าเป็นพี่เลี้ยงนักศึกษาพยาบาลหอผู้ป่วยกุมารเวชศาสตร์หัวใจ ผู้บริหารการพยาบาลประกอบด้วยหัวหน้าหอผู้ป่วยกุมารเวชศาสตร์หัวใจ ผู้ตรวจการหอผู้ป่วยใน ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงาน ณ หอผู้ป่วยกุมารเวชศาสตร์หัวใจ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 2 กลุ่ม และปีการศึกษา 2561 จำนวน 2 กลุ่ม โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบการสังเคราะห์เอกสาร และแนวคำถามกึ่งโครงสร้าง แผนการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก และแบบสังเกตพฤติกรรมอาจารย์พี่เลี้ยงและนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยง มี 3 ระยะ คือ 1) ก่อนนิเทศ 2) ระหว่างนิเทศ และ 3) สิ้นสุดการนิเทศ ผลการนำรูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงไปใช้ พบว่า การนิเทศแบบมีส่วนร่วมของหัวหน้าหอผู้ป่วย พยาบาลชำนาญการ พยาบาลปฏิบัติการ และบุคลากร เกิดการสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ การฝึกปฏิบัติการพยาบาลที่มีคุณภาพ และนักศึกษาพยาบาลได้รับการยอมรับเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของทีมการพยาบาลของหอผู้ป่วย นักศึกษาพยาบาลรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง บรรยากาศการทำงานของทีมสุขภาพแบบกัลยาณมิตร และประสิทธิผลของรูปแบบ มี 3 ประเด็นดังนี้ 1) สร้างเสริมคุณลักษณะพยาบาลที่พึงประสงค์ 2) สร้างความวิญญาณเป็นครูสำหรับอาจารย์พี่เลี้ยง และ3) สร้างเครือข่ายทางการศึกษาวิชาชีพพยาบาล
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ This quality research objectives were: 1) to study the problems of clinical practice of nursing students, 2) to develop a participatory supervision model of preceptors for nursing students who practice in clinical practice and 3) to study the effectiveness of a participatory supervision model. The key informants and the sampling were professional nurses who perform duties as preceptors for nursing students in Pediatric Cardiac Ward, 2 Nursing administrators, including a head ward nurse, In-Patient Department's Supervisor of Queen Sirikit Heart Center of the Northeast, and Nursing Students who practiced at the Pediatric Cardiac Ward, 2 groups in Academic year 2016, and 2 groups in Academic year 2017, by purposive sampling. The research tool were document synthesis form, semi-structured questions, Participatory supervision plan for preceptors as supervised nursing students and behavior observation forms. Analysis data by content analysis.
The results showed that: There were 3 phases of supervision model, consisting of 1) before supervision, 2) between supervision and 3) after supervision. The results of using the Preceptor's Participatory Supervision Model were found that Participatory Supervision of Head Nurse, Professional nurse, Operating Nurses, and personnel support team to knowledge exchange, quality of nursing practice, and nursing students were accepted to join as part of the nursing team. The nursing students feel valuable in themselves, working atmosphere of a friendly, and the effectiveness of the model, there are 3 aspects as follows:
21) enhance desirable nursing characteristics, 2) building spiritual as a teacher for mentors, and 3) create a networking of professional nursing education.
This quality research objectives were: 1) to study the problems of clinical practice of nursing students, 2) to develop a participatory supervision model of preceptors for nursing students who practice in clinical practice and 3) to study the effectiveness of a participatory supervision model. The key informants and the sampling were professional nurses who perform duties as preceptors for nursing students in Pediatric Cardiac Ward, 2 Nursing administrators, including a head ward nurse, In-Patient Department's Supervisor of Queen Sirikit Heart Center of the Northeast, and Nursing Students who practiced at the Pediatric Cardiac Ward, 2 groups in Academic year 2016, and 2 groups in Academic year 2017, by purposive sampling. The research tool were document synthesis form, semi-structured questions, Participatory supervision plan for preceptors as supervised nursing students and behavior observation forms. Analysis data by content analysis. The results showed that: There were 3 phases of supervision model, consisting of 1) before supervision, 2) between supervision and 3) after supervision. The results of using the Preceptor's Participatory Supervision Model were found that Participatory Supervision of Head Nurse, Professional nurse, Operating Nurses, and personnel support team to knowledge exchange, quality of nursing practice, and nursing students were accepted to join as part of the nursing team. The nursing students feel valuable in themselves, working atmosphere of a friendly, and the effectiveness of the model, there are 3 aspects as follows: 21) enhance desirable nursing characteristics, 2) building spiritual as a teacher for mentors, and 3) create a networking of professional nursing education.
Keyword Supervision, Participatory, Preceptor, Nurse Students


วารสารอื่นๆ

ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล

21 บทความ
ชื่อ - สกุล วารสาร
ไฟล์
หน้า
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS546
การประเมินความก้าวหน้าการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
104
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS616
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
0
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS702
การทำนายภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
287
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS724
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฝึกปฏิบัติงานบนคลินิก ของนักศึกษาพยาบาล
76
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1772
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีภาวะหมดสติจากสมองขาดออกซิเจน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
21
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS856
ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมผลการเรียนรู้ รายวิชาจริยศาสตร์และกฎหมายวิชาชีพ สำหรับนักศึกษาพยาบาล
125
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS867
การสร้างและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
210
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS616
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS928
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
1
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS988
การรับรู้กฎหมายวิชาชีพ จริยธรรม และจรรยาบรรณของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
147
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1023
การประเมินผลการเรียนรู้ในสภาพจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
51
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1043
ภาวะสุขภาพของคนพิการในโครงการจัดการความรู้เครือข่ายคนพิการ และศูนย์เรียนรู้คนพิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
26
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1092
การพยาบาลผู้ป่วยหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว : กรณีศึกษาผนังกั้นหัวใจห้องล่างรั่ว
21
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1180
ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกออนไลน์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ในรายวิชาการบริหารการพยาบาล สำหรับนักศึกษาพยาบาล
112
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1248
ผลการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขอัจฉริยะ โดยการใช้โปรแกรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุออนไลน์ ชุมชนหนองใหญ่ เทศบาลนครขอนแก่น
123
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1259
การประเมินโครงการจัดการความรู้เครือข่ายคนพิการ ของศูนย์เรียนรู้คนพิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน: การวิจัยเชิงคุณภาพ
18
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1318
ผลของการนำหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีไปใช้ในโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
156
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1511
ประสิทธิผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติงาน 4Rs เพื่อส่งเสริมความมั่นใจ ในการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการบริหารการพยาบาล
117
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1361
รูปแบบภาวะผู้นำแบบร่วมสมัยของผู้นำชุมชนที่มีผลต่อการลดขยะต้นทางโดยใช้แนวคิด 3Rs กรณีศึกษาชุมชนบ้านหัวถนน ตำบลพระลับ จังหวัดขอนแก่น
150
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1670
ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ 7-7 เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์ และการแก้ไขปัญหาทางการพยาบาลในคลินิก สำหรับนักศึกษาพยาบาล
15
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1703
ประสิทธิผลการวางแผนจำหน่ายต่อแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของผู้ดูแลเด็กวัยก่อนเรียนที่ป่วยด้วยโรคปอดอักเสบ โรงพยาบาลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
113