วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มีนาคม ปี พ.ศ. 2564

ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1624250533-4(26-34).pdf

  

ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล

CAS1043

ชื่อผู้วิจัย   ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
1, โศภิษฐ์ นามขำ2, ธัญญรัตน์ เนาววิบูลย์พร3, อุดมลักษณ์ ดวงผุนมาตย์4, อาบจิตร กอมาตย์5, อภิสิทธิ์ ธำรงวรางกูร6, ทานทิพย์ ธำรงวรางกูร7
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) ภาวะสุขภาพของคนพิการในโครงการจัดการความรู้เครือข่ายคนพิการ และศูนย์เรียนรู้คนพิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมสำหรับคนพิการ ในโครงการจัดการความรู้เครือข่ายคนพิการและศูนย์เรียนรู้คนพิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้พิการดาวเด่นในโครงการจำนวน 9 คน ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก และประเมินภาวะสุขภาพคนพิการ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบประเมินภาวะสุขภาพ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านภาวะสุขภาพ ส่วนใหญ่คนพิการมีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหนังแข็ง วัณโรคกระดูก เกาต์ หลังจากที่เข้าร่วมโครงการ คนพิการมีกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันที่เปลี่ยนไป จากการปลูกผักต้องอาศัยการลงมือปฏิบัติ การเตรียมเมล็ดพันธุ์ เตรียมพื้นที่ เตรียมดิน และต้องรดน้ำพรวนดินทุกวัน และเก็บผลผลิตส่งจำหน่าย ส่งผลให้มีสุขภาพด้านร่างกายแข็งแรงและสุขภาพจิตดีขึ้น โดยพบว่าดัชนีมวลกายปกติ จำนวน 8 ราย และมีภาวะน้ำหนักเกิน จำนวน 1 ราย มีภาวะโภชนาการ ระดับปกติจำนวน 9 คน 2) ด้านคุณภาพชีวิต พบว่าคนพิการรู้สึกมีคุณค่า สามารถช่วยตนเอง และพึ่งตนเองจากรายได้ที่เกิดขึ้น รวมถึงการมีคุณค่าในสังคมที่สามารถช่วยให้คนในสังคมได้บริโภคผักปลอดสารเคมี ที่ไม่เกิดอันตรายต่อสุขภาพ และอันตรายต่อธรรมชาติ และ 3) ด้านสิ่งแวดล้อม พบว่าคนพิการมีสังคม มีเพื่อน มีการสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้พิการปลูกผักปลอดสารเคมีร่วมกัน เกิดกิจกรรมเยี่ยมแปลงผัก และนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาปรับปรุงและพัฒนาแปลงผักของตนเอง เพื่อขยายและเพิ่มผลผลิตอย่างต่อเนื่อง สะท้อนให้เห็นว่า สิ่งแวดล้อมของผู้พิการเปลี่ยนไปในด้านที่ดีขึ้น และเกิดคุณประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ Abstract
The objective of this research was to studied the Disability Health Status, Quality of Life and Environment of Disabilities in the Project of Disability Knowledge Management and Disability Learning Center for Development Sustainable Quality of Life. Methodology of this research were qualitative and quantitative methods. The sample group of 9 Top star Disabilities were selected by the Project manager. The research instruments were the In-depth interview form and Assessment of Health status of Disability.
The results of the research revealed that: 1) Health status Aspect: the most of disabilities were participated in the project, they had congenital disease such as Hypertension, diabetes, Sclerosis, Tuberculosis of Bones and Gout, after they joined the project; the disabilities have different activities and routines to growing vegetables by requires action; seed and soil preparation, also watering every day, harvesting, delivery and distribution, effect to good physical and mental health of disabilities. It was found that 8 normal body mass index persons and 1 overweight. All of 9 people had normal nutritional status level. 2) Quality of Life Aspect found that: disabilities feel valuable, take care themselves and self-reliant on the income generated, including the valuable in society that can help people in society consume non chemical vegetables. That is not harmful to health and damage to natural and 3) The Environment Aspect found that: Disabilities have a society, have friends, have created a network of knowledge sharing between the disabled and grow non-chemical vegetables together. They had an activity to visit the other vegetable field, and use the results of the sharing of knowledge to improved and developed their own vegetable fields, to continuously expand and increase productivity, Reflect that; the environment of the disabled has changed for the better, and benefit to themselves, family and society.
Abstract The objective of this research was to studied the Disability Health Status, Quality of Life and Environment of Disabilities in the Project of Disability Knowledge Management and Disability Learning Center for Development Sustainable Quality of Life. Methodology of this research were qualitative and quantitative methods. The sample group of 9 Top star Disabilities were selected by the Project manager. The research instruments were the In-depth interview form and Assessment of Health status of Disability. The results of the research revealed that: 1) Health status Aspect: the most of disabilities were participated in the project, they had congenital disease such as Hypertension, diabetes, Sclerosis, Tuberculosis of Bones and Gout, after they joined the project; the disabilities have different activities and routines to growing vegetables by requires action; seed and soil preparation, also watering every day, harvesting, delivery and distribution, effect to good physical and mental health of disabilities. It was found that 8 normal body mass index persons and 1 overweight. All of 9 people had normal nutritional status level. 2) Quality of Life Aspect found that: disabilities feel valuable, take care themselves and self-reliant on the income generated, including the valuable in society that can help people in society consume non chemical vegetables. That is not harmful to health and damage to natural and 3) The Environment Aspect found that: Disabilities have a society, have friends, have created a network of knowledge sharing between the disabled and grow non-chemical vegetables together. They had an activity to visit the other vegetable field, and use the results of the sharing of knowledge to improved and developed their own vegetable fields, to continuously expand and increase productivity, Reflect that; the environment of the disabled has changed for the better, and benefit to themselves, family and society.
Keyword Health Status, Quality of Life, Disability


วารสารอื่นๆ

ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล

21 บทความ
ชื่อ - สกุล วารสาร
ไฟล์
หน้า
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS546
การประเมินความก้าวหน้าการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
104
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS616
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
0
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS702
การทำนายภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
287
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS724
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฝึกปฏิบัติงานบนคลินิก ของนักศึกษาพยาบาล
76
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1772
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีภาวะหมดสติจากสมองขาดออกซิเจน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
21
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS856
ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมผลการเรียนรู้ รายวิชาจริยศาสตร์และกฎหมายวิชาชีพ สำหรับนักศึกษาพยาบาล
125
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS867
การสร้างและพัฒนาโปรแกรมออนไลน์การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
210
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS616
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS928
รูปแบบการนิเทศแบบมีส่วนร่วมของอาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
1
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS988
การรับรู้กฎหมายวิชาชีพ จริยธรรม และจรรยาบรรณของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
147
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1023
การประเมินผลการเรียนรู้ในสภาพจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในคลินิก
51
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1043
ภาวะสุขภาพของคนพิการในโครงการจัดการความรู้เครือข่ายคนพิการ และศูนย์เรียนรู้คนพิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
26
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1092
การพยาบาลผู้ป่วยหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว : กรณีศึกษาผนังกั้นหัวใจห้องล่างรั่ว
21
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1180
ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกออนไลน์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ในรายวิชาการบริหารการพยาบาล สำหรับนักศึกษาพยาบาล
112
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1248
ผลการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขอัจฉริยะ โดยการใช้โปรแกรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุออนไลน์ ชุมชนหนองใหญ่ เทศบาลนครขอนแก่น
123
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1259
การประเมินโครงการจัดการความรู้เครือข่ายคนพิการ ของศูนย์เรียนรู้คนพิการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน: การวิจัยเชิงคุณภาพ
18
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1318
ผลของการนำหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีไปใช้ในโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
156
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1511
ประสิทธิผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติงาน 4Rs เพื่อส่งเสริมความมั่นใจ ในการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการบริหารการพยาบาล
117
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1361
รูปแบบภาวะผู้นำแบบร่วมสมัยของผู้นำชุมชนที่มีผลต่อการลดขยะต้นทางโดยใช้แนวคิด 3Rs กรณีศึกษาชุมชนบ้านหัวถนน ตำบลพระลับ จังหวัดขอนแก่น
150
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1670
ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ 7-7 เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์ และการแก้ไขปัญหาทางการพยาบาลในคลินิก สำหรับนักศึกษาพยาบาล
15
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล
CAS1703
ประสิทธิผลการวางแผนจำหน่ายต่อแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของผู้ดูแลเด็กวัยก่อนเรียนที่ป่วยด้วยโรคปอดอักเสบ โรงพยาบาลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
113