วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือน เมษายน - มิถุนายน ปี พ.ศ. 2564


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1624785356-7-(48-57).pdf

   หน้าที่ 48

นัยนา สุแพง

CAS1096

ชื่อผู้วิจัย   นัยนา สุแพง
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
นันธินีย์ วังนันท์, จิรวรรณ ชัยวิศิษฏ์, มณฑิรา ชนะกาญจน์
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาลในสถานการณ์การเรียนการสอนแบบออนไลน์
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาลในสถานการณ์การเรียนการสอนแบบออนไลน์ ของสถาบันการศึกษาพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่นชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 226 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสอบถาม แบ่งแบบสอบถามออกเป็น 4 ส่วนได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามเกี่ยวกับการเห็นคุณค่าในตนเอง 3) แบบวัดความเครียดของสวนปรุง 20 ข้อ และ 4) แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า 9Q วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและค่าไคสแควร์
ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาพยาบาลมีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 15.04 โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีภาวะซึมเศร้ามากที่สุดคือ ร้อยละ 24.60 รองลงมาคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 2 โดยพบร้อยละ 15.50 ,11.90 และ 9.10 ตามลำดับ นักศึกษาพยาบาลมีค่าเฉลี่ยการเห็นคุณค่าในตนเองอยู่ในระดับสูง ("X" ̅= 3.49, SD= 0.52) โดยพบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 1
มีค่าเฉลี่ยของคะแนนการเห็นคุณค่าในตนเองสูงมากที่สุด ("X" ̅= 3.58 , SD= 0.54 ) รองลงมาคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 , 3 และ 2 ตามลำดับ ("X" ̅= 3.48, SD= 0.50; "X" ̅= 3.44, SD= 0.51 และ "X" ̅= 3.46, SD= 0.52) นักศึกษาพยาบาลมีความเครียดอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด (ร้อยละ 49.12) รองลงมาความเครียดอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 28.32) โดยพบว่านักศึกษาชั้นปีที่ 1
มีความเครียดอยู่ในระดับสูงมากที่สุด (ร้อยละ 47.30) นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มีความเครียดอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด (ร้อยละ 58.00) นักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีความเครียดอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด (ร้อยละ 55.90) นักศึกษาชั้นปีที่ 4 มีความเครียดอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด (ร้อยละ 52.10) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า การเห็นคุณค่าในตนเองด้านการมีความสำคัญมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญ ( r =.218, p=.001 ) ความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญ ( r=.419, p<.001) และวิเคราะห์ความเครียดระดับสูงและระดับรุนแรงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้า ( r =.163, p=.015 ; r=.321, p =0.01)
จากงานวิจัยมีข้อเสนอแนะว่า ควรมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง และพัฒนาทักษะการจัดการความเครียดเพื่อช่วยส่งเสริมเรื่องการปรับตัวและการป้องกันภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาลในสถานการณ์การเรียนการสอนออนไลน์
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The purpose of this research was to study factors associated with depression of nursing students in the online teaching situations of private nursing education institution in KhonKaen Province in 1st - 4th year. The sample through stratified random sampling, a total of 226. Data were collected using information by questionnaires into 4 part: 1) general information; 2) self-esteem questionnaire; 3) SuanPrung stress test 20 points; and 4) depression screening 9Q. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson correlation analysis and Chi-square test.
The results found that 15.04% of nursing students had depression. The 1st year students had the most depression at 24.60%, followed by the 4th year, 3rd year and 2nd year students with 15.50%, 11.90%, and 9.10% respectively. Self-esteem was at a high level ("X" ̅=3.49, SD=0.52), with the 1st year students having the highest self-esteem average score ("X" ̅=3.58, SD = 0.54), followed by 4th, 3rd and 2nd year students, ("X" ̅= 3.48, SD = 0.52; "X" ̅= 3.44, SD = 0.51 and "X" ̅= 3.46, SD = 0.52 respectively). Nursing students had the most moderate levels of stress at 49.12 %, followed by a high level of stress at 28.32 %. The 1st year students were found to the most high levels of stress (47.30%), The 2st year students were found to a moderate levels of stress (58.00 %). The 3st year students were found to a moderate levels of stress (55.90%) and The 4st year students were found to have a moderate levels of stress (52.10%). The result from correlation analysis revealed a negative relation between the importance of self-esteem with depression (r =.218,
p= .001). On the other hand, a positive relation was high levels of stress and severe stress with depression (r = .163, p = .015; r = .321, p = 0.01 respectively).
The suggestion of this research should have activities to promote self-esteem and develop stress management skills to support the adaptation and prevention of depression among nursing students in online teaching situations.
The purpose of this research was to study factors associated with depression of nursing students in the online teaching situations of private nursing education institution in KhonKaen Province in 1st - 4th year. The sample through stratified random sampling, a total of 226. Data were collected using information by questionnaires into 4 part: 1) general information; 2) self-esteem questionnaire; 3) SuanPrung stress test 20 points; and 4) depression screening 9Q. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson correlation analysis and Chi-square test. The results found that 15.04% of nursing students had depression. The 1st year students had the most depression at 24.60%, followed by the 4th year, 3rd year and 2nd year students with 15.50%, 11.90%, and 9.10% respectively. Self-esteem was at a high level ("X" ̅=3.49, SD=0.52), with the 1st year students having the highest self-esteem average score ("X" ̅=3.58, SD = 0.54), followed by 4th, 3rd and 2nd year students, ("X" ̅= 3.48, SD = 0.52; "X" ̅= 3.44, SD = 0.51 and "X" ̅= 3.46, SD = 0.52 respectively). Nursing students had the most moderate levels of stress at 49.12 %, followed by a high level of stress at 28.32 %. The 1st year students were found to the most high levels of stress (47.30%), The 2st year students were found to a moderate levels of stress (58.00 %). The 3st year students were found to a moderate levels of stress (55.90%) and The 4st year students were found to have a moderate levels of stress (52.10%). The result from correlation analysis revealed a negative relation between the importance of self-esteem with depression (r =.218, p= .001). On the other hand, a positive relation was high levels of stress and severe stress with depression (r = .163, p = .015; r = .321, p = 0.01 respectively). The suggestion of this research should have activities to promote self-esteem and develop stress management skills to support the adaptation and prevention of depression among nursing students in online teaching situations.
Keyword Social Media Using, Stress, Self-esteem, Depression and Nursing Students