ไฟล์ ดาวน์โหลด |
1595405175-6-15.jr16(2.2563)T.pdf |
|||||||||
|
ชื่อผู้วิจัย ยุวรัตน์ ฐิตินิรันดร์กุล
|
|||||||||
บทคัดย่อ ภาษาไทย |
รายงานการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาข้อกฎหมายของพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางกฎหมายดังกล่าว การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเอกสาร (Documentary research) โดยวิเคราะห์เอกสาร ตำรา บทความ รายงานการวิจัย ข้อกฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติ แผนงาน นโยบายที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) พบว่าพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 มีปัญหากฎหมาย การไม่กำหนดระยะเวลาในการตรวจสอบหลักสูตรของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา ปัญหาการไม่ได้กำหนดขยายเวลาพิจารณาอุทธรณ์ ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ในกรณีที่สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับคำสั่งให้หยุดจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรที่อยู่ระหว่างการพิจารณา ปัญหาช่องว่างทางกฎหมายกรณีการให้ผู้อื่นทำผลงานทางวิชาการ และการทำผลงานทางวิชาการให้ผู้อื่น และปัญหาการกำหนดภาระหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษาไม่สอดคล้องกันกับข้อกฎหมาย ในกรณีสถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการพาณิชย์ที่มุ่งเน้นการแสวงหากำไร |
|||||||||
คำสำคัญ | ||||||||||
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ | The purposes of this research were to study issues on Law of the Higher Act 2019, and guidelines to improve. This research were documentary research, analyze documents, texts, articles, research reports, Constitutional Law of the Kingdom of Thailand, Acts, related policy and plans. Results from content analysis, the research finds that, the problem of Law of the Higher Act not determining the duration for examining the curriculum of the Higher Education Standard Committees. The problem of not determining the extension of time for appeal of the Appeal Committees, in the case that Higher Education Institutions are ordered to stop teaching and learning in accordance with the curriculum under consideration. Problem of Legal gaps in case of other to do academic work, and doing academic work for other. The problem of determination of the duties of the Higher Education Standard Committee are inconsistence of the law, in case of Higher Education Institutions organize education for commerce focusing on profit. The purposes of this research were to study issues on Law of the Higher Act 2019, and
guidelines to improve. This research were documentary research, analyze documents, texts, articles,
research reports, Constitutional Law of the Kingdom of Thailand, Acts, related policy and plans. Results
from content analysis, the research finds that, the problem of Law of the Higher Act not determining the
duration for examining the curriculum of the Higher Education Standard Committees. The problem of not
determining the extension of time for appeal of the Appeal Committees, in the case that Higher Education
Institutions are ordered to stop teaching and learning in accordance with the curriculum under
consideration. Problem of Legal gaps in case of other to do academic work, and doing academic work for
other. The problem of determination of the duties of the Higher Education Standard Committee are
inconsistence of the law, in case of Higher Education Institutions organize education for commerce
focusing on profit.
|
|||||||||
Keyword | Keywords: Law of the Higher Act, Higher education institutions | |||||||||
ยุวรัตน์ ฐิตินิรันดร์กุล
5 บทความชื่อ - สกุล | วารสาร | ไฟล์ |
หน้า |
|
---|---|---|---|---|
|
ยุวรัตน์ ฐิตินิรันดร์กุล CAS491 |
ศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดีข้อพิพาทระหว่างสถาบันอุดมศึกษาเอกชน และอาจารย์ของสถาบัน | ||
|
ยุวรัตน์ ฐิตินิรันดร์กุล CAS646 |
บทบัญญัติของร่างพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา ที่ขัดต่อหลักการของกฎหมาย และอาจเกิดผลกระทบต่อผู้เรียน | ||
|
ยุวรัตน์ ฐิตินิรันดร์กุล CAS825 |
จากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ กฎหมายการศึกษาและแผนพัฒนาชาติ สู่มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 | ||
|
ยุวรัตน์ ฐิตินิรันดร์กุล CAS933 |
ปัญหาข้อกฎหมายของพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา | ||
|
ยุวรัตน์ ฐิตินิรันดร์กุล CAS1508 |
การคุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุ: มาตรการทางกฎหมายและนโยบายภาครัฐ |