วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม - กันยายน ปี พ.ศ. 2563


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1606892617-15-(111-118)edit.pdf

   หน้าที่ 111

พิชญ์ชญามญช์ พลรัตน์

CAS983

ชื่อผู้วิจัย   พิชญ์ชญามญช์ พลรัตน์
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
สุธิดา หอวัฒนกุล2 ชัยยงค์ พรหมวงศ์3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาการศึกษา
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) แบบจำลองเครือข่ายความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ เขต 4
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบเครือข่ายความร่วมมือเพื่อยก ระดับคุณภาพการศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 4 2) เพื่อสร้างแบบจำลองเครือข่ายความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 และ 3) เพื่อยืนยันแบบ จำลอง เครือข่ายความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 2 กลุ่ม กลุ่มแรกคือผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 21 คน และกลุ่มที่ 2 คือผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน รวม 28 คน โดยใช้การวิจัยแบบเทคนิคเดลฟาย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัย พบว่า แบบจำลองเครือข่ายความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 ประกอบด้วยด้านแนวคิดพื้นฐาน 4 ประการ คือ 1) หลักการเครือข่ายความ 2) หลักการมีส่วนร่วม 3) หลักการเสริมพลังอำนาจ 4) คุณภาพการศึกษา ผลการรับรองแบบจำลองเครือข่ายความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 มีความเหมาะสม เป็นประโยชน์ และเป็นไปได้
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The objectives of this study were: 1) to study the components of the participatory networking system to enhance the quality of elementary schools under the jurisdiction of Primary Education in Buriram Area 4. 2) to construct the participatory net-working model and 3) to certify the participatory networking system to enhance the quality of elementary schools under the jurisdiction of Primary Education Buriram Area 4. The population were 21 specialists and 7 experts while the semi- structure interview and Likert’s five rating scale were used in addition Median, interquartile range were the statistical instruments as well.
The research results of the cooperation network model to enhance the quality of education basic school under the office of Buriram Primary Educational Service Area 4, consisting of 4 basic concepts:
1) Principles of network, 2) Participation principles, 3) Principles of empowerment, 4) Educational quality.
The results of the certification of the cooperation network model to enhance the quality of education in basic education institutions under the office of Buriram Primary Educational Service Area 4 was appropriate, beneficial and feasible.
The objectives of this study were: 1) to study the components of the participatory networking system to enhance the quality of elementary schools under the jurisdiction of Primary Education in Buriram Area 4. 2) to construct the participatory net-working model and 3) to certify the participatory networking system to enhance the quality of elementary schools under the jurisdiction of Primary Education Buriram Area 4. The population were 21 specialists and 7 experts while the semi- structure interview and Likert’s five rating scale were used in addition Median, interquartile range were the statistical instruments as well. The research results of the cooperation network model to enhance the quality of education basic school under the office of Buriram Primary Educational Service Area 4, consisting of 4 basic concepts: 1) Principles of network, 2) Participation principles, 3) Principles of empowerment, 4) Educational quality. The results of the certification of the cooperation network model to enhance the quality of education in basic education institutions under the office of Buriram Primary Educational Service Area 4 was appropriate, beneficial and feasible.
Keyword Cooperation network, enhance education, fundamental education