วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม - ธันวาคม ปี พ.ศ. 2562


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1577356178-20.(133-143).pdf

   หน้าที่ 133

พิชัย สารภักดิ์

CAS839

ชื่อผู้วิจัย   พิชัย สารภักดิ์
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
อภิมุข วันเฟื่องฟู2 เลิศลักษณ์ มูลตา3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาบริหารธุรกิจและการบัญชี
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) พฤติกรรมและส่วนประสมทางการตลาดทีมีต่อการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ)
บทคัดย่อ ภาษาไทย วัตถุประสงค์การวิจัย (1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา (2) เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดทีมีต่อการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคล และส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา ใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 ตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่การแจกแจงความถี่ การคำนวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบสมมติฐานด้วยค่า ไคร์ สแคร์ (Chi Square)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 73.00 สถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 56.80 อายุ อยู่ระหง่าง 31- 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.00 การศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 54.00 อาชีพข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 35.50 และมีรายได้ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 30.00 ตามลำดับ พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา ได้แก่ ความถี่ในการซื้อเบเกอรี่ครั้งละ 5- 6 ชิ้นต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 29.20 ปริมาณที่ซื้อเบเกอรี่ 4 – 6 ชิ้นต่อครั้ง คิดเป็นร้อยละ 51.00 ค่าใช้จ่ายในการซื้อเบเกอรี้ต่ำกว่า 100 บาทต่อครั้ง คิดเป็นร้อยละ 63.80 โอกาสในการซื้อเบเกอรี่ เป็นประจำมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 81.80 เหตุผลที่ซื้อเบเกอรี่เนื่องจากมีรูปลักษณ์ที่สวยงามคิดเป็นร้อยละ 54.80 และสถานที่เลือกซื้อเบเกอรี่ในมินิมาร์ท คิดเป็นร้อยละ 45.20 ตามลำดับ
2. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใญ่ได้ตอบแบบประเมินส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา พบว่า ด้านส่งเสริมทางการตลาด ( = 3.92) ด้านส่งเสริมการจัดจำหน่าย ( = 3.91 ด้านลักษณะทางกายภาพ ( = 3.87) ด้านพนักงาน ( = 3.88) ด้านกระบวนการ ( = 3.89)
ด้านราคา ( = 3.82) ด้านผลิตภัณฑ์ ( = 3.80) ตามลำดับ
3. ผลการทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา พบว่า 1) ความถี่ในการซื้อเบเกอรี่.
มีความสัมพันธ์ กับอายุและรายได้ 2) โอกาสในการซื้อเบเกอรี่ มีความสัมพันธ์กับ เพศ อายุ และระดับการศึกษา 3) เหตุผล
ที่ซื้อเบเกอรี่ มีความสัมพันธ์กับ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และรายได้ 4) .สถานที่เลือกซื้อเบเกอรี่มีความสัมพันธ์กับระดับการศึกษา และส่วนประสมทางการตลาด มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา พบว่า 1) ความถี่ในการซื้อเบเกอรี่. มีความสัมพันธ์กับ ผลิตภัณฑ์ ราคา การส่งเสริมการจำหน่าย
การส่งเสริมการตลาด พนักงาน และกระบวนการ และลักษณะทางกายภาพ 2) ปริมาณที่ซื้อเบเกอรี่ มีความสัมพันธ์กับ ผลิตภัณฑ์ ราคา และพนักงานและลักษณะทางกายภาพ 3. ค่าใช้จ่ายในการซื้อเบเกอรี้ มีความสัมพันธ์ กับพนักงาน 4) โอกาสในการซื้อเบเกอรี่มีความสัมพันธ์ กับพนักงาน กระบวนการ และลักษณะทางกายภาพ 5.) รูปแบบในการซื้อเบเกอรี่
มีความสัมพันธ์กับ ราคา การส่งเสริมการจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด พนักงาน กระบวนการ และลักษณะทางกายภาพ
6) สถานที่เลือกซื้อเบเกอรี่มีความสัมพันธ์กับ ราคา การส่งเสริมการตลาด พนักงาน กระบวนการ และลักษณะทางกายภาพ ตามลำดับ
คำสำคัญ
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ The research objectives were: (1) to study basic personal information relating to marketing mixes affecting behavior (2) To study the marketing mix of the consumers in the bakery in Mueang Nakhon Ratchasima District, and (3) to study the relationship between personal information and the marketing mix on the purchasing decision behavior of consumers in Mueang Nakhon Ratchasima District. The sample consisted of 400 samples, accidental sampling. The research instruments were questionnaires. The statistics used for data analysis are frequency distribution, calculation of percentage, average, standard deviation, hypothesis testing with Chi Square.
The research found that:
1. Most respondents are female = 73.00%, marital status = 56.80%, age between 31-40 years = 33.00%, Bachelor's degree education = 54.00 %, occupation, government official / state enterprise employee = 35.50%, and earning between 10,001 - 20,000 baht = 30.00% respectively. Behaviors of consumers in decision making to buy bakeries in Mueang Nakhon Ratchasima District include the frequency of buying bakeries 5-6 pieces per week = 29.20 %, the amount of buying 4 - 6 bakeries at a time = 51.00, the cost of buying bakery goods is less than 100 baht per time = 63.80%, the reason of buying bakery is because it has beautiful appearance = 54.80%, and the place to buy bakery in minimart = 45.20%, respectively.
2. Most respondents responded to the evaluation of the marketing mix that affects the bakery buying behavior of consumers in Mueang Nakhon Ratchasima District, found that promotion aspect Marketing ( = 3.92), the distribution promotion ( = 3.91) in the Process ( = = 3.89), Employees
( = 3.88), Physical characteristics ( = 3.87), Prices ( = 3.82), Products ( = 3.80) respectively.
3. The results of the hypothesis testing at the statistical significance level of 0.05 were personal data related to bakery purchasing behavior of consumers in Mueang Nakhon Ratchasima District, found that: 1) frequency of buying bakery items related with age and income, 2) the opportunity to buy a bakery correlated with gender, age and education level, 3) reasons to buy a bakery correlated with gender, age, status, education level and income, 4) the place to buy bakery items is related to the education level and marketing mix correlated with the purchasing decision behavior of consumers in Mueang Nakhon Ratchasima District, found that: 1) the frequency of bakery purchases, correlated with the product, price, promotion, promotion of marketing staff and processes and physical characteristics,
2) quantity of bakery items purchased correlate with the product, price, and staff and physical characteristics, 3) the cost of buying bakery have a relationship with staff, 4) the opportunity to buy a bakery related to the employees, the process and the physical characteristics, 5) the form of buying a bakery correlated with the price, sales promotion marketing promotion, staff, process, and physical characteristics, 6) the place to buy the bakery related with the price, marketing promotion, staff, process and physical characteristics respectively.
The research objectives were: (1) to study basic personal information relating to marketing mixes affecting behavior (2) To study the marketing mix of the consumers in the bakery in Mueang Nakhon Ratchasima District, and (3) to study the relationship between personal information and the marketing mix on the purchasing decision behavior of consumers in Mueang Nakhon Ratchasima District. The sample consisted of 400 samples, accidental sampling. The research instruments were questionnaires. The statistics used for data analysis are frequency distribution, calculation of percentage, average, standard deviation, hypothesis testing with Chi Square. The research found that: 1. Most respondents are female = 73.00%, marital status = 56.80%, age between 31-40 years = 33.00%, Bachelor's degree education = 54.00 %, occupation, government official / state enterprise employee = 35.50%, and earning between 10,001 - 20,000 baht = 30.00% respectively. Behaviors of consumers in decision making to buy bakeries in Mueang Nakhon Ratchasima District include the frequency of buying bakeries 5-6 pieces per week = 29.20 %, the amount of buying 4 - 6 bakeries at a time = 51.00, the cost of buying bakery goods is less than 100 baht per time = 63.80%, the reason of buying bakery is because it has beautiful appearance = 54.80%, and the place to buy bakery in minimart = 45.20%, respectively. 2. Most respondents responded to the evaluation of the marketing mix that affects the bakery buying behavior of consumers in Mueang Nakhon Ratchasima District, found that promotion aspect Marketing ( = 3.92), the distribution promotion ( = 3.91) in the Process ( = = 3.89), Employees ( = 3.88), Physical characteristics ( = 3.87), Prices ( = 3.82), Products ( = 3.80) respectively. 3. The results of the hypothesis testing at the statistical significance level of 0.05 were personal data related to bakery purchasing behavior of consumers in Mueang Nakhon Ratchasima District, found that: 1) frequency of buying bakery items related with age and income, 2) the opportunity to buy a bakery correlated with gender, age and education level, 3) reasons to buy a bakery correlated with gender, age, status, education level and income, 4) the place to buy bakery items is related to the education level and marketing mix correlated with the purchasing decision behavior of consumers in Mueang Nakhon Ratchasima District, found that: 1) the frequency of bakery purchases, correlated with the product, price, promotion, promotion of marketing staff and processes and physical characteristics, 2) quantity of bakery items purchased correlate with the product, price, and staff and physical characteristics, 3) the cost of buying bakery have a relationship with staff, 4) the opportunity to buy a bakery related to the employees, the process and the physical characteristics, 5) the form of buying a bakery correlated with the price, sales promotion marketing promotion, staff, process, and physical characteristics, 6) the place to buy the bakery related with the price, marketing promotion, staff, process and physical characteristics respectively.
Keyword marketing mix, decision making behavior


วารสารอื่นๆ

พิชัย สารภักดิ์

5 บทความ
ชื่อ - สกุล วารสาร
ไฟล์
หน้า
ดร.พิชัย สารภักดิ์
CAS580
ขวัญและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท เค.ที.เอ็ม.สตีล จำกัด จังหวัดนครราชสีมา
127
พิชัย สารภักดิ์
CAS839
พฤติกรรมและส่วนประสมทางการตลาดทีมีต่อการตัดสินใจซื้อเบเกอรี่ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
133
พิชัย สารภักดิ์
CAS844
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทีมีต่อการตัดสินใจเลือกรับประทานอาหารตามสั่งของผู้บริโภคในเขตเทศบาลตำบลตลาด อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
24
พิชัย สารภักดิ์
CAS1062
ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการส่งอ้อยเข้าโรงงานน้ำตาละครบุรี ของเกษตรกรชาวไร่อ้อย อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา
157
พิชัย สารภักดิ์
CAS1237
พฤติกรรมและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจในการเลือกซื้อปุ๋ยปรับปรุง สภาพดินของเกษตรกรในเขตอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
158