วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย ...

ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม - กันยายน ปี พ.ศ. 2566


ไฟล์ ดาวน์โหลด

     1027017908.pdf

   หน้าที่ 35

ณภัทรชา ปราชญาภาณุชาติ

CAS1504

ชื่อผู้วิจัย   ณภัทรชา ปราชญาภาณุชาติ
ชื่อผู้ส่งวารสารร่วม/ที่ปรึกษา สถานะ
ผู้วิจัยร่วม
ขวัญฤดี พรชัยทิวัตถ์2, วิตติกา ทางชั้น3
วารสารฉบับเต็ม


สาขา

สาขาบริหารธุรกิจและการบัญชี
ชื่อบทความ (ภาษาไทย) กรอบแนวคิดการศึกษาคุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อการรับรู้คุณค่าและความสุข ของลูกค้าในธุรกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ชื่อบทความ (ภาษาอังกฤษ) A CONCEPTUAL FRAMEWORK OF E-SERVICE QUALITY AFFECTING PERCEIVED VALUE AND CUSTOMER DELIGHT IN E-COMMERCE BUSINESS
บทคัดย่อ ภาษาไทย บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้วิธีการทบทวนวรรณกรรม การวิเคราะห์เอกสาร บทความวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การวัดคุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-SQUAL) ประกอบไปด้วย 7 มิติ คือ 1) ด้านประสิทธิภาพของการใช้งาน 2) ด้านการทำให้บรรลุเป้าหมาย 3) ด้านความเป็นส่วนตัว 4) ด้านความพร้อมของระบบ และคุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์หลังการขาย ประกอบไปด้วย 5) ด้านการตอบสนองลูกค้า 6) ด้านการชดเชยลูกค้าเมื่อเกิดความเสียหาย 7) ด้านการติดต่อ นอกจากนี้ยังพบว่าคุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์มีผลต่อการรับรู้คุณค่าและความสุขของลูกค้า ข้อสรุปที่ได้จากการศึกษาผู้ประกอบการหรือองค์กรสามารถนำผลการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจการพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยอย่างยั่งยืนอันเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จของธุรกิจ
คำสำคัญ คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์, การรับรู้คุณค่า, ความสุขของลูกค้า, การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ This article aims to synthesize the e-service quality by using a literature review, searching academic papers, and document analysis. The results revealed that e-service quality consists of 7 dimensions: The
E-S-QUAL scale 1) efficiency 2) fulfillment 3) privacy 4) system availability and E-RecS-QUAL consist of
5) responsiveness 6) compensation 7) contact. Moreover, found that the e-service quality effects on the perceived value and customer delight. The finding from the studies can be used as a model for e-commerce businesses in formulating strategies in order to gain competitive advantages and develop efficient customer services that are in accordance with the needs of consumers, which is a factor to contributing the success of e-commerce businesses in Thailand.
This article aims to synthesize the e-service quality by using a literature review, searching academic papers, and document analysis. The results revealed that e-service quality consists of 7 dimensions: The E-S-QUAL scale 1) efficiency 2) fulfillment 3) privacy 4) system availability and E-RecS-QUAL consist of 5) responsiveness 6) compensation 7) contact. Moreover, found that the e-service quality effects on the perceived value and customer delight. The finding from the studies can be used as a model for e-commerce businesses in formulating strategies in order to gain competitive advantages and develop efficient customer services that are in accordance with the needs of consumers, which is a factor to contributing the success of e-commerce businesses in Thailand.
Keyword E-Service Quality, Perceived Value, Customer Delight, E-Commerce